ฟิสิกส์ 1

Physics 1

1.1 เข้าใจเรื่องแรง  การเคลื่อนที่แบบต่างๆ โมเมนตัมและพลังงาน ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ
1.2 เข้าใจเรื่องความร้อนและเสียง
1.3 ใช้สูตรคำนวณได้ทุกหัวข้อ
1.4 เข้าใจทักษะปฏิบัติงาน
1.5 ประยุกต์วิชาฟิสิกส์  กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆได้
1.6 มีจิตพิสัยในการปฎิบัติงานอย่างมีระบบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
2. เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชาฟิสิกส์ 1 ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับเวกเตอร์  แรงและการเคลื่อนที่ โมเมนตัมและพลังงาน การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต  ระบบอนุภาค  การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง  ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ ความร้อน  คลื่น  เสียง
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
บรรยาย  ครอบคลุม เนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมหรือศึกษาด้วยตนเอง
จากการสอบและงานที่มอบหมาย
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ยกตัวอย่างที่เหมะสมในระหว่างการบรรยาย
2. พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบและมีการวิเคราะห์ปัญหา
3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือการตอบคำถามในระหว่างการเรียนการสอน
สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ ทดสอบระหว่างเรียน ตามความเหมาะสม 70%
2 -ทักษะทางปัญญา -ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
    1.1 มจธ. , ฟิสิกส์ 1         
    1.2 Schaum’s out line series}, Physics 1
    1.3 ฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัย ภาคกลศาสตร์  . ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพฯ : สุริยาสาส์น,2543
ฟิสิกส์ 1. คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์   คณะวิทยาศาสตร์   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2541.
    กลศาสตร์เวกเตอร์  พลศาสตร์ภาคแรก . ผศ.จรัส บุณยธรรมา     , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
กรุงเทพฯ : สุริยาสาส์น,2543
              กลศาสตร์วิศวกรรม. อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์ . กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์,2542
              โจทย์ประกอบการเรียนฟิสิกส์ . ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ :
สุริยาสาส์น,2543
           รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
           R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2  ติตตามงานที่มอบหมาย
2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
   3.1   ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
   3.2  การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
   3.3  รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมิน
   4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
   4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
   4.3   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
   5.1   นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
   5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย