ทฤษฎีสี

Theory of Color

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแม่สี  สีผสม วงจรสี วรรณะของสี ค่าน้ำหนักของสี กลุ่มสี สีคู่ปฏิปักษ์ หลักการใช้สี รวมถึงจิตวิทยาของสี
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          ในทฤษฎีสีเพื่อการออกแบบ และเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง
ตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบและในทางศิลปะที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุค
สมัย  
ศึกษาเกี่ยวกับแม่สี  สีผสม วงจรสี วรรณะของสี ค่าน้ำหนักของสี กลุ่มสี สีคู่ปฏิปักษ์ หลักการใช้สี รวมถึงจิตวิทยาของสี หลักการใช้ทฤษฎีสี การนำมาใช้สร้างสรรค์ผลงาน
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏฺบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกานและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องความระเบียบข้อบังคับ
ของมหาวิทยาลัย
1.2.3      ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อ การให้คะแนนและการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.2   พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้
1.3.3   พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏบัติตามกฏระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
               2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีสีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
               2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
               2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
        2.2.1   ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
        2.2.2   มอบหมายและรวบรวมงานปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงานส่งปลายเทอม
        2.2.3   มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หลักการทางทฤษฎีสีในการปฏิบัติตามหัวข้อหรือประเด็น
                   ที่กำหนด พร้อมทั้งนำเสนอ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  และการปฏิบัติจริง
               3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
              3.1.2   มีทักษะการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
   3.2.1   มอบหลายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
   3.2.2   ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
   3.2.3   การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
   3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการปฏิบัติ
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2   ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้
           ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงาน
4.2.2  มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้ศึกษา
4.3.1   ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2  พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
           และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.1   ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับทฤษฎี
มีทักษะในด้านทฤษฏีสี
มีทักษะในการใช้สี เพื่อประยุกต์ใช้งาน ออกแบบได้   
1.การฝึกปฏิบัติงาน
2.การนําเสนองาน 
1.ตรวจผลการปฏิบัติงาน
2.การซักถาม 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 40000003 ทฤษฎีสี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 8 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 1-ึ7 9-16 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1-7 9-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.
ฟาบรี, ราล์ฟ.  ทฤษฏีสี. แปลโดยสมเกียรติ ตั้งนโม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2536.
วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546.
Chijiwa,H. Color harmony. Massachusetts: Rockport Publisher,1987.
Faber, B. Creative color. United States of America: Schiffer Publishing, 1987.
ไม่มี
ไม่มี
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่
มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ