กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

Law for Accounting Profession

                                                หมวดที่ 2
                                จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
  1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เช้าใจหลักการศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรทางธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคล พระราชบัญญัติทางหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์ การกำกับควบคุม และกฎหมายที่เกี่ยวกับการบัญชีเช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีและวิชาชีพบัญชี
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการจัดทำบัญชีและงบการเงินตามกฎหมายที่เกี่ยวกับการบัญชีและพระราชบัญญัติการบัยชี พ.ศ.2547 และพ.ร.บ.การบัญชี 2543 กฎหมายทางธุรกิจเกี่ยวกับประมวลรัษฏากรกฏหมายเกี่ยวกับการสอบบัญชีและภาษีการกู้ยืมทรัพย์สินทางปัญญา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การกู้ยืม เช่าซื้อ ฝากขาย การจำนอง การจำนำตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ประโยชน์จากกฎหมายที่เกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี จัดทำบัญชีถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี ที่สภาวิชาชีพกำหนด  ตามกฎหมายการบัญชีออกงบการเงินได้ถูกต้องตามกฏหมาย  
หลักสูตรที่ใช้ มคอ.3 เล่มนี้

ลำดับ เล่มหลักสูตร สถานะ วันที่ตรวจสอบ 1.         บัญชีบัณฑิต                                                                     รอตรวจสอบ
2          บัญชีบัณฑิต                                                                    รอตรวจสอบ  
                                                      

หมวดที่ 1
ข้อมูลทั่วไป
1.รหัสและชื่อรายวิชารหัสรายวิชาBACAC113ชื่อรายวิชาภาษาไทยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษLaw for Accounting Profession2.จำนวนหน่วยกิต3( 3 - 0 - 6 )3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา1 หลักสูตร4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน5.ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียนภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 1 เทียบโอนบัญชีภาคการศึกษาปี 25616.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)8.สถานที่เรียนตาก9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุดประเภท :มคอ.3เขตพื้นที่ :ตากปีการศึกษา :2561เทอมการศึกษา :2
                       หมวดที่ 3
ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เช้าใจหลักการศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรทางธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคล พระราชบัญญัติทางหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์และตลาดหบักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์ การกำกับควบคุม และกฎหมายที่เกี่ยวกับการบัญชีเช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีและวิชาชีพบัญชี
 
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย :
45 ชั่วโมง
 
สอนเสริม :
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :
ไม่มี
การศึกษาด้วยตนเอง :
6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
 1 ชั่วดม/สัปดาห์ เฉพาะที่ต้องการ
หมวดที่ 4
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
      นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งจรรยาบรรณในวิชาชีพ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอู่ในสังคมได้อย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะและทำคุณประโยชน์พัฒนาประเทศให้เกิดความั่นคง
1.2 วิธีการสอน
        1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ
        2.ให้ความสำคัญในการมีวินัย ตรงต่อเวลาข้อบังคับ
        3. การเรียนรู้ในการเรียน การทำวิจัย
1.3 วิธีการประเมินผล
       1. การประเมินผลโดยสังเกตพฤติกรรมนักศกษาเกี่ยวกับเข้าชั้นเรียนตามกำหนดกิจกรรเข้าร่วม
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ห้ามทุจริตในห้องสอบ
มีความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฏี หลักการด้านกฏหมาย
มีหลายรูปแบบตามเนื้อหารายวิชาถาม ตอบปัญหาเรียนรู้จากเหตุการณ์ต่าง ๆ
ระหว่งภาคเช่นงานที่มอบหมาย วิจัย นำเสนอ กรณีศึกษา
สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆเกี่ยวกับกฏหมายวิชาชีพบัญชีประยุกต์ สร้งสรรค์ สามารถประเมินติดตามปล
ส่งเสริมเรียนรู้กระบวนการเป็นระบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเมินจากผลการแก้ไขโจทย์ปัญหา แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนจากการสอบ รายงาน การค้นคว้ากรณีศึกษา
สามารถปฏิบัติมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ด้านกฏหมายวิชาชีพบัญชี
มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อย
ประเมินตากรายงาน วิจัย ค้นคว้าแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
มีทักษะการใช้ชีวิต มีประสิทธิภาพการเรียนรู้ด้านกฏหมาย
มอบหมายงานที่ต้องใช้วิจัยแก้ปัญหา
ประเมินจากผลงานการสืบค้นที่มอบหมายให้
การสอบข้อเขียน
นักศึกษาค้นคว้า วิจัย
การสืบค้นคว้าแก้ปัญหา
การทดสอบย่อยกลางภาค  การสอบปลายภาคเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล