คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

English Vocabulary

ศึกษาความเป็นมาของคำศัพท์ภาษาอังกฤษ การสร้างคำพ้องรูป และพ้องเสียง คำประสม คำยืม คำศัพท์มักเกิดคู่กัน คำศัพท์ที่มักใช้ผิด และการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเพิ่มพูนคำศัพท์
Study history of English words, word formation, homograph, homophone, compound words, loan words, collocation, most commonly confusing words as well as using computer technology to expand vocabulary
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในเรื่องคำศัพท์ รู้และเข้าใจความหมายของคำศัพท์ที่หลากหลาย มีทักษะในการเพิ่มพูนคำศัพท์ และสามารถนำคำศัพท์ไปใช้ในการสื่อสารในสถานการณ์ที่ถูกต้อง
ศึกษาความเป็นมาของคำศัพท์ภาษาอังกฤษ การสร้างคำพ้องรูป และพ้องเสียง คำประสม คำยืม คำศัพท์มักเกิดคู่กัน คำศัพท์ที่มักใช้ผิด และการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเพิ่มพูนคำศัพท์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพ สังคมสวนรวม และสิ่งแวดลอม มีความสํานึกรับผิดชอบตอสวนรวม และสิ่งแวดลอม
  1.2.1   ใช้แรงเสริมเพื่อให้กำลังใจนักศึกษาในการทำดี เช่นเมื่อนักศึกษามีวินัยในการส่งงาน หรือ มีความขยันในการเรียน การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา 
 1.2.2    ฝึกให้นักศึกษาวางแผนการเรียนและทำตารางเวลา ตารางประจำวัน ประจำสัปดาห์ ว่าจะอ่านอะไรก่อนหลัง ทำกิจกรรมอะไรบ้างและจะทำเมื่อไร
1.3.1   การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2    การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
 1.3.3    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1 มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สําคัญในเนื้อหา ของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ไดอยางเหมาะสม และพัฒนาความรู ติดตามความกาวหนาทางวิชาการไดอยางตอเนื่อง
            2 มีความรูและความเขาใจในสาระสําคัญของศาสตรที่เกี่ยวของ ประยุกตใชความรู ทักษะในการวิเคราะหปญหา เขาใจและอธิบายความตองการที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต ความรู ทักษะ และสามารถเลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับการแกปญหาและการดํารงชีวิตประจําวัน
2.2.1   สอนโดยการบรรยายให้ความรู้ ผนวกกับการฝึกปฏิบัติจริง โดยเน้นการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน (Student-Centered)
2.2.2    สอนโดยการใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) เช่น การใช้บัตรคำ  แสดงบทบาทสมมติ (role play)   ฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่มหรือเป็นคู่   เป็นต้น
2.3.1   การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
  2.3.2    ผลการฝึกปฏิบัติ / การทำกิจกรรมของนักศึกษา
            3.1.1    ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านคำศัพท์  ทั้งในวิชาการและวิชาชีพ
            3.1.2    ทักษะในการนำความรู้ทางด้านคำศัพท์มาประยุกต์ใช้กับการเรียนภาษาทางด้านอื่นๆ ได้อย่างครอบคลุม เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นต้น  ปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
     3.2.1           บรรยายให้ความรู้ และฝึกวิเคราะห์คำศัพท์
     3.2.2    นักศึกษาซักถามและอภิปรายแสดงความคิดเห็น
     3.2.3    นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ทำแบบฝึกหัดตามเนื้อหาการบรรยาย
     3.2.4    นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.1   การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2    การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น
3.3.3    การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศกับกลุมคนหลากหลาย ไดอยางมีประสิทธิภาพ   
จัดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม
4.3.1   ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
 4.3.2    ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
   4.3.3    สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-3 สอบกลางภาค 8 30%
2 หน่วยที่ 4-7 สอบปลายภาค 17 30%
3 หน่วยที่ 1-7 สอบประจำบท ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ตลอดภาคการศึกษา กิจกรรมและงานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 หน่วยที่ 1-7 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
Graves, Michael F. 2003. Building Vocabulary Skills. USA: McGraw-Hill.    
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
            1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
            2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
            2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
            2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
            3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
            3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
            4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
         4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
            5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์