การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล

Basic Mechanical Engineering Training

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานพื้นฐานทางวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือวัด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน เลื่อยมือ ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การใช้ การดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล ที่ใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรม โครงงานในสาขาวิศวกรรมเป็นงานเน้นการปฏิบัติตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือวัด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน เลื่อยมือ ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การใช้ การดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล ที่ใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรม โครงงานในสาขาวิศวกรรมเป็นงานเน้นการปฏิบัติตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ อันเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง   และการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันต่อไป
ปฏิบัติงานพื้นฐานทางวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือวัด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน เลื่อยมือ ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การใช้ การดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล ที่ใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรม โครงงานในสาขาวิศวกรรมเป็นงานเน้นการปฏิบัติตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ
3.1 อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.1 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา
1.1.2 สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายและแก้ไขปัญหาได้
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.1 บรรยาย และสาธิตให้นักศึกษาดู
1.2.2 อภิปรายกลุ่มและให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่มอบหมาย
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายมอบหมาย
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิบัติงานพื้นฐานทางวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือวัด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน เลื่อยมือ ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ  ในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การใช้ การดูแลรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือกล ที่ใช้อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรม โครงงานในสาขาวิศวกรรมเป็นงานเน้นการปฏิบัติตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ
-บรรยาย  อภิปราย  สาธิตการปฏิบัติงานจริง
- งานที่มอบหมาย
พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
- อธิบาย และสาธิตการปฏิบัติงานจริง
- งานที่มอบหมาย
- พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- อธิบาย และสาธิตการปฏิบัติงานจริง
- งานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเสนอแนวความคิดและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ปฏิบัติงานตามใบงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 งานที่ได้รับมอบหมาย งานที่ได้รับมอบหมาย 20%
        1.1  สงวนศิลป์  ภูหนองโอง , จรูญ  พรมสุทธิ์  , อำนาจ  ทองแสน.  งานฝึกฝีมือ.  นนทบุรี : บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำกัด
          1.2  รองศาสตราจารย์อำพล  ซื่อตรง  ,รองศาสตราจารย์วันชัย  จันทรวงศ์  ,อาจารย์ดีเตอร์  ชิปเปิร์ท.  งานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
          1.3  อนันต์  วงศ์กระจ่าง.  ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศรีสยาม
          1.4  ธัญญลักษณ์  ก้องสมุท.  ปฏิบัติงานฝึกฝีมือ.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนทบุรี.  นนทบุรี :  ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
          1.5  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไชยศักดิ์  ศรีสุขเดช.  การวัดละเอียด.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตตาก.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชากา
1.1  แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา
2.1  การสังเกตจากการเรียนการสอน
2.2  ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3  การประเมินการสอนของนักศึกษา
3.1  ปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา และให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่จริง
4.1  การทดสอบการเรียนการสอนก่อนปิดภาคเรียน ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ
4.2 รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
5.1 ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆ ปี