การออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุ
Design of Material Handling System
เพื่อผลิตวิศวกรระดับปริญญาตรีที่มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานตามแนวทางของระบบการขนถ่ายวัสดุ การเลือกใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ในรายวิชาช่วยประกอบการวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบของโลจิสติกส์ โซ่อุปทาน และรองรับการเปลี่ยนแปลงทางพลวัต
เพื่อผลิตวิศวกรระดับปริญญาตรีที่มีคุณสมบัติเหมาะและสมสามารถปฏิบัติงานในด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์ เพื่อผลิตวิศวกรโลจิสติกส์ที่มีความสามารถปฏิบัติงานเฉพาะด้าน สามารถเข้าใจหลักการและปฏิบัติการเกี่ยวกับวิศวกรรมด้านการขนถ่ายวัสดุ ในการวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการขนถ่ายวัสดุ การแยกประเภทและชนิดของเครื่องมือขนถ่ายวัสดุ ขอบเขตการใช้งานของเครื่องมือขนถ่ายวัสดุ ชิ้นส่วนประกอบและหน้าที่การทำงานของส่วนประกอบของเครื่องมือขนถ่ายวัสดุประเภท สายพานลำเลียง ลูกกลิ้งลำเลียง สกรูลำเลียง โซ่ลำเลียง อุปกรณ์ลำเลียงแบบสั่นสะเทือน การใช้อุปกรณ์ประเภทคว้าน เครน ลิฟท์ และการขนถ่ายวัสดุที่เป็นหน่วยเช่น รถเข็น รถลาก รถพ่วง และระบบคอนเทนเนอร์ รวมทั้งการจัดการความสามารถในการรับภาระของอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุแตต่ละชนิด
เวลาให้คำปรึกษานักศึกษา นอกเวลาเรียนหรือตามที่นัดศึกษานัด
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.2 แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.4 เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
1.1.2 แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.4 เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
1.2.1 เน้นในเรื่องให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานในเวลาที่กำหนด
1.2.2 ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายกลุ่ม
1.2.3 จัดกิจกรรมการพัฒนาคณะ / มหาวิทยาลัย / ชุมชน
1.2.2 ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายกลุ่ม
1.2.3 จัดกิจกรรมการพัฒนาคณะ / มหาวิทยาลัย / ชุมชน
1.3.1 เช็คชื่อการเข้าเรียน ตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 สามารถเข้าใจ และวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานของระบบการขนถ่ายวัสดุ
2.1.2 สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ได้
2.1.3 มีความเข้าใจ และวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักการวางแผนและควบคุมการผลิต การขนส่งและกระจายสินค้าเป็นต้น
2.1.2 สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ได้
2.1.3 มีความเข้าใจ และวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักการวางแผนและควบคุมการผลิต การขนส่งและกระจายสินค้าเป็นต้น
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ
2.2.2 มอบหมายให้ทำโครงงานเกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ สำหรับงานโลจิสติกส์ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยใช้ปัญหาด้านระบบขนถ่ายวัสดุ และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านโลจิสติกส์
2.2.2 มอบหมายให้ทำโครงงานเกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ สำหรับงานโลจิสติกส์ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยใช้ปัญหาด้านระบบขนถ่ายวัสดุ และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านโลจิสติกส์
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ
2.2.2 มอบหมายให้ทำโครงงานเกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ สำหรับงานโลจิสติกส์ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยใช้ปัญหาด้านระบบขนถ่ายวัสดุ และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านโลจิสติกส์
2.2.2 มอบหมายให้ทำโครงงานเกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ สำหรับงานโลจิสติกส์ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3 บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยใช้ปัญหาด้านระบบขนถ่ายวัสดุ และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านโลจิสติกส์
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาระบบขนถ่ายวัสดุโดยใช้หลักการที่ได้เรียนและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2 พัฒนาความสามารถการแก้ปัญหาระบบขนถ่ายวัสดุ ทางวิศวกรรมโลจิสติกส์ได้โดยนำหลักการต่าง ๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม เช่น นโยบายการซ่อมบำรุงและสนับสนุน การออกแบบระบบให้มีความไว้ใจได้ความสามารถในการซ่อมบำรุง เป็นต้น
3.1.3 พัฒนาการใฝ่หาความรู้
3.1.2 พัฒนาความสามารถการแก้ปัญหาระบบขนถ่ายวัสดุ ทางวิศวกรรมโลจิสติกส์ได้โดยนำหลักการต่าง ๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม เช่น นโยบายการซ่อมบำรุงและสนับสนุน การออกแบบระบบให้มีความไว้ใจได้ความสามารถในการซ่อมบำรุง เป็นต้น
3.1.3 พัฒนาการใฝ่หาความรู้
3.2.1 มีการมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา บทความ ระบบขนถ่ายวัสดุ การทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติ การนำวิศวกรรมระบบสำหรับงานด้านโลจิสติกส์มาใช้อย่างเหมาะสมด้วยการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
3.2.3 มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ ให้มีการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ และในสถานประกอบการ เพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติ การนำวิศวกรรมระบบสำหรับงานด้านโลจิสติกส์มาใช้อย่างเหมาะสมด้วยการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
3.2.3 มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับระบบขนถ่ายวัสดุ ให้มีการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ และในสถานประกอบการ เพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 ประเมิลผลจากงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 ประเมิลผลจากงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
4.1.1 พัฒนาให้นักศึกษาสามารถทำงานกลุ่มหรือผู้อื่นได้
4.1.2 พัฒนาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.2 พัฒนาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกภาคปฏิบัติเป็นกลุ่ม
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะการนำเสนอโครงงาน และรายงาน การสื่อสารความหมายโดยในเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.2 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
5.1.3 พัฒนาทักษะความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติตามหลักการระบบขนถ่ายวัสดุและหลักการที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอโครงงานด้วยข้อมูลโดยเน้นหลักคณิตศาสตร์หรือสถิติ
5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.1.2 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
5.1.3 พัฒนาทักษะความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติตามหลักการระบบขนถ่ายวัสดุและหลักการที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอโครงงานด้วยข้อมูลโดยเน้นหลักคณิตศาสตร์หรือสถิติ
5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1 มอบหมายรายงาน โครงงานหัวข้อพิเศษเกี่ยวกับการออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุ และการนำเสนอ
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 บรรยายและแนะนำหลักการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับการใช้งานในระบบขนถ่ายวัสดุ นำเสนอกรณีศึกษาด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์โดยเน้นการนำตัวเลข หรือสถิติมาอ้างอิง
5.2.4 มอบหมายงานนำเสนอบทความวิจัยหรือบทความวิชาการภาษาอังกฤษ รวมถึงการท่องคำศัพท์ที่เกี่ยวกับโลจิสติกส์
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 บรรยายและแนะนำหลักการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับการใช้งานในระบบขนถ่ายวัสดุ นำเสนอกรณีศึกษาด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์โดยเน้นการนำตัวเลข หรือสถิติมาอ้างอิง
5.2.4 มอบหมายงานนำเสนอบทความวิจัยหรือบทความวิชาการภาษาอังกฤษ รวมถึงการท่องคำศัพท์ที่เกี่ยวกับโลจิสติกส์
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยตัวเลข และเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ประเมินผลจากการทดสอบ และการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4 ประเมินจากการนำเสนอบทความและวัดผลจากคำศัพท์
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ประเมินผลจากการทดสอบ และการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4 ประเมินจากการนำเสนอบทความและวัดผลจากคำศัพท์
6.1.1 พัฒนามีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการปฏิบัติงาน
6.1.2 พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานกลุ่มและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.1.2 พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานกลุ่มและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.2.1 ผู้สอนลงมือสาธิตการปฏิบัติการการใช้เครื่องมือเกี่ยวกับระบบขนถ่ายวัสดุ
6.2.2 ควบคุมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาให้มีความถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด
6.2.2 ควบคุมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาให้มีความถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด
6.3.1 บันทึกผลเวลาการปฏิบัติ การใช้เครื่องมือ และประเมินจากรายงาน
6.3.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
6.3.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | บทที่ 1 - 11 มีการสอบภาคทฤษฏีแบ่งเป็น กลางภาค บทที่ 1 - 5 และปลายภาค 6 - 11 | สอบภาคทฤษฎีแบบอัตนัย | 8 และ 17 | 50 % |
2 | บทที่ 1 - 11 ทุกหน่วยเรียน | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ใบงานการทดลอง | ทุกสัปดาห์ ยกเว้นสัปดาห์สอบ | 40% |
3 | ทุกหน่วยเรียน | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย | ทุกคาบ และทุกครั้งที่มีการมอบหมาย | 10% |
Reese, Charies D. “Material Handling Systems: designing for safety and health”. 2000.
เอกสารประกอบการสอน และใบงานการทดลองทั้งหมด
สื่อออนไลน์ที่เกี่ยวกับการขนถ่ายวัสดุ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะ Group Facebook ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะ Group Facebook ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ