ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน
English for Airline Business
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศัพท์ สำนวน และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจการบิน จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพ ในงานด้านธุรกิจการบิน โดยเน้นการเรียนการสอนด้วยภาคทฤษฎีและปฏิบัติ อีกทั้งเพื่อสร้างเสริมสติปัญญาในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ได้อย่างเป็นระบบโดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
การเรียนรู้เกี่ยวกับศัพท์ สำนวน และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจการบิน จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การทดสอบความเข้าใจในการสอบกลางภาคและปลายภาค
1.3.2 การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1.3.2 การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ
2.1.1 ด้านทฤษฎี เข้าใจลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
2.1.2 ด้านปฏิบัติ สามารถใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
2.1.3 การบูรณาการความรู้ทีได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 ด้านทฤษฎี เข้าใจลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
2.1.2 ด้านปฏิบัติ สามารถใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
2.1.3 การบูรณาการความรู้ทีได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การฝึกปฏิบัติทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.3.2 การฝึกปฏิบัติทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน พร้อมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะสม
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
3.2.3 ให้นักศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
3.2.3 ให้นักศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของภาษาที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีทั้งระหว่างบุคคลในวัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม
4.1.2 ความสามารถในการทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีทั้งระหว่างบุคคลในวัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม
4.1.2 ความสามารถในการทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 สอดแทรกเนื้อหาในรายวิชาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและมารยาทสากลในการสื่อสาร
4.2.2 ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินในสถานการณ์สมมติในบริบทต่าง ๆ
4.2.2 ฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินในสถานการณ์สมมติในบริบทต่าง ๆ
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมในระหว่างการฝึกปฏิบัติ/การทำกิจกรรม
4.3.2 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่กำหนด
4.3.2 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่กำหนด
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร รวมถึงการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา
5.3.1 การทดสอบความรู้ในการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.2 ผลการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน
5.3.2 ผลการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนทักษะทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับสายการบิน มีการการสื่อสารอย่างที่ดีและเหมาะสม
สอดแทรกเนื้อหาเพื่อพัฒนาทักษะในการสื่อสารในบทเรียน
การทำกิจกรรมในห้องเรียน ทดสอบย่อยในห้องเรียนและ สอบ กลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1-7 | สอบกลางภาค | 8 | 25% |
2 | หน่วยที่ 8-15 | สอบปลายภาค | 17 | 25% |
3 | หน่วยที่ 1-15 | ทดสอบย่อย / แบบฝึกหัด / กิจกรรม / งานมอบหมาย การทดสอบย่อย | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
4 | จิตพิสัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน
1. Emery, Henry and Roberts, Andy. 2008. Aviation. Macmillan Publishers Limited.
2. Parasakul, Lertporn. 2010. English in Airline Business. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
3. Sakchuen, Nattakarn. 2007. English for ground and in-flight attendants. Bangkok: Kasetsart University Press.
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา เช่น
http://www.eslflow.com/Tourismlessons.html
http://www.btinternet.com/~ted.power/games.htm#g15
http://public.doe.k12.ga.us/DMGetDocument.aspx
http://nhd.heinle.com/crosswords/airport_print.html
http://englishteacheroxford.co.uk/avlisten.aspx
http://www.flightattendantcareer.com/faq.htm
http://www.saberingles.com.ar/lists/airport.html
http://www.newscientist.com/topic/aviation
2. Parasakul, Lertporn. 2010. English in Airline Business. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
3. Sakchuen, Nattakarn. 2007. English for ground and in-flight attendants. Bangkok: Kasetsart University Press.
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา เช่น
http://www.eslflow.com/Tourismlessons.html
http://www.btinternet.com/~ted.power/games.htm#g15
http://public.doe.k12.ga.us/DMGetDocument.aspx
http://nhd.heinle.com/crosswords/airport_print.html
http://englishteacheroxford.co.uk/avlisten.aspx
http://www.flightattendantcareer.com/faq.htm
http://www.saberingles.com.ar/lists/airport.html
http://www.newscientist.com/topic/aviation
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์