สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
Business Environment
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพภูมิศาสตร์ แนวโน้มและทิศทางของธุรกิจ ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ ตลอดจนสามารถปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค์ของธุรกิจต่อผลกระทบทางด้านการดำเนินธุรกิจ
2.เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงความสำคัญของสภาพแวดล้อมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจ
3.เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีต่อการดำเนินธุรกิจ
4.เพื่อสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับนักศึกษา
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค์ของธุรกิจ สภาพแวดล้อมของธุรกิจทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจการเมือง เทคโนโลยีและสภาพภูมิศาสตร์ แนวโน้มและทิศทางของธุรกิจ ผลกระทบต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ การปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน การสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่สังคม
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1) มีความรู้และความเข้าใจในจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
2) ตระหนักถึงคุณธรรมด้าน ความซื่อสัตย์สุจริต
3) สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และ ข้อตกลงในการเรียน
4) สามารถทำงานที่มอบหมายให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนดได้
1) สอดแทรกเรื่องจิตสำนึกทางด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม ของผู้ประกอบการที่ควรปฎิบัติต่อสังคมและชุมชนระหว่างการเรียนการสอนในรายวิชา โดยบรรยายและยกกรณีศึกษาจากสถานการณ์ปัจจุบัน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปราย 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
2) ชี้แจงระเบียบของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การแต่งกาย วินัยนักศึกษา การสอบ และกำหนดข้อตกลงในการเรียน เช่น การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน และวินัยในชั้นเรียน
3) ให้นักศึกษาจัดทำโครงการตักบาตร...รีไซเคิลบุญ โดยเน้นให้นักศึกษาได้เห็นคุณค่าของการบริหารจัดการขยะให้มีคุณค่าและมีประโยชน์ ภายใต้การสนับสนุนโครงการจากโครงการขยะ..สังคม
2) ชี้แจงระเบียบของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การแต่งกาย วินัยนักศึกษา การสอบ และกำหนดข้อตกลงในการเรียน เช่น การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน และวินัยในชั้นเรียน
3) ให้นักศึกษาจัดทำโครงการตักบาตร...รีไซเคิลบุญ โดยเน้นให้นักศึกษาได้เห็นคุณค่าของการบริหารจัดการขยะให้มีคุณค่าและมีประโยชน์ ภายใต้การสนับสนุนโครงการจากโครงการขยะ..สังคม
1) ประเมินผลการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเรียนตลอดภาคการศึกษา
2) ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับผลกระทบของสภาพแวดล้อมต่อการดำเนินธุรกิจ โดยยกตัวอย่างกรณีศึกษามาช่วยในการวิเคราะห์
3) ประเมินผลงานการจัดโครงการตักบาตร..รีไซเคิลบุญ โดยอาจารย์ผู้สอน
2) ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับผลกระทบของสภาพแวดล้อมต่อการดำเนินธุรกิจ โดยยกตัวอย่างกรณีศึกษามาช่วยในการวิเคราะห์
3) ประเมินผลงานการจัดโครงการตักบาตร..รีไซเคิลบุญ โดยอาจารย์ผู้สอน
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค์ของธุรกิจต่อผลกระทบทางด้านการดำเนินธุรกิจ
นักศึกษาเข้าใจถึงความสำคัญของสภาพแวดล้อมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจ
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีต่อการดำเนินธุรกิจ
นักศึกษามีจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี
1) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
2) แบบฝึกหัด และกรณีศึกษา เกี่ยวกับปัญหาทางด้านสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
2) แบบฝึกหัด และกรณีศึกษา เกี่ยวกับปัญหาทางด้านสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
1) สามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจด้านต่างๆที่มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ
1) บรรยาย นักศึกษาฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา และร่วมกันอภิปราย
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
1) มอบหมายงานแบบกลุ่มย่อย เป็นกรณีศึกษาตัวอย่าง
1) ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม
2) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
2) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
1) สามารถนำวิธีวิเคราะห์เชิงตัวเลข ประยุกต์ในกรณีศึกษา และเสนอวิธีการแก้ไข
1) บรรยาย นักศึกษาฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา และร่วมกันอภิปราย
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
1. สามารถรับรู้และเข้าใจวิธีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมธุรกิจ
2. สามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
2. สามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
1. หาข้อมุลธุรกิจ ในด้านสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจ
2. ให้วิเคราะห์ข้อมุลธุรกิจและกรณีศึกษา
2. ให้วิเคราะห์ข้อมุลธุรกิจและกรณีศึกษา
1) ทดสอบย่อย
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2) สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
1 | 12011203 | สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2,3,5 | การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค | ทุกสัปดาห์ 9 17 | 10% 30% 30% |
2 | 1,4 | กรณีศึกษา รายงานกลุ่ม | 12-15 16 | 10% 10% |
3 | 1 | การสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนตาม ระเบียบและข้อตกลงในการเรียน | ทุกสัปดาห์ | 10% |
- รศ.จินตนา บุญบงการ.สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
- หลักการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค์ของธุรกิจ
- กฎหมายแรงงานและประกันสังคม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
- กฎหมายแรงงานและประกันสังคม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
- เวบไซด์กระทรวงการต่างประเทศ
- เวบไซด์ HR
- เวบไซด์ผู้จัดการ
- นิตยสารการเงินการธนาคาร
- นิตยสารโลกสีเขียว
- เวบไซด์ HR
- เวบไซด์ผู้จัดการ
- นิตยสารการเงินการธนาคาร
- นิตยสารโลกสีเขียว
การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาในส่วนของนิสิตผู้เรียนในแต่ละหมู่นั้น ผู้สอนของทุกหมู่เรียนจะประชุมตกลงกันในกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อให้ได้รับผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาที่สอนในแนวทางเดียวกัน และนำมาวิเคราะห์เพื่อการวางแผนการปรับปรุงต่อไป
กิจกรรมที่จะนำไปสู่การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาโดยนิสิต ได้แก่
1.1 ผู้สอนจัดกิจกรรมพบนิสิตนักศึกษาเป็นกลุ่มซึ่งใช้กลุ่มที่ได้จัดไว้ในการมอบหมายงานทำแบบฝึกหัด เพื่อให้นิสิตนักศึกษาได้สนทนาในสาระเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
1.2 ผู้สอนติดตามผลการมอบหมายงานของนิสิตแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน
1.3 ผู้สอนมอบหมายให้นิสิตนักศึกษาแต่ละคนเขียนบันทึกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
1.4 จัดให้มีการประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชาโดยใช้แบบประเมินโดยส่วนกลางก่อนสอบกลางภาค เพื่อให้ผู้สอนได้ทราบและสามารถปรับปรุงได้ในภาคการศึกษานั้น หากผลการประเมินพบว่าควรมีการปรับปรุง
กิจกรรมที่จะนำไปสู่การประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาโดยนิสิต ได้แก่
1.1 ผู้สอนจัดกิจกรรมพบนิสิตนักศึกษาเป็นกลุ่มซึ่งใช้กลุ่มที่ได้จัดไว้ในการมอบหมายงานทำแบบฝึกหัด เพื่อให้นิสิตนักศึกษาได้สนทนาในสาระเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
1.2 ผู้สอนติดตามผลการมอบหมายงานของนิสิตแต่ละกลุ่มเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทำงาน
1.3 ผู้สอนมอบหมายให้นิสิตนักศึกษาแต่ละคนเขียนบันทึกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอนที่ดำเนินอยู่
1.4 จัดให้มีการประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชาโดยใช้แบบประเมินโดยส่วนกลางก่อนสอบกลางภาค เพื่อให้ผู้สอนได้ทราบและสามารถปรับปรุงได้ในภาคการศึกษานั้น หากผลการประเมินพบว่าควรมีการปรับปรุง
การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนและผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการ ดังนี้
2.1 การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนดำเนินการโดยให้ผู้สอนได้เข้าสังเกตการณ์การสอนของหมู่เรียนอื่น แล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันพร้อมข้อเสนอแนะ
2.2 การประเมินการสอน โดยผู้ร่วมทีมการสอนร่วมกันออกข้อสอบและใช้ข้อสอบชุดเดียวกันทดสอบผู้เรียนเพื่อวัดผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านตามที่ระบุ
2.3 การประเมินการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการทวนสอบข้อสอบก่อนนำไปใช้ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาและเห็นชอบข้อสอบก่อนนำไปใช้
2.1 การประเมินการสอนโดยผู้ร่วมทีมการสอนดำเนินการโดยให้ผู้สอนได้เข้าสังเกตการณ์การสอนของหมู่เรียนอื่น แล้วนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันพร้อมข้อเสนอแนะ
2.2 การประเมินการสอน โดยผู้ร่วมทีมการสอนร่วมกันออกข้อสอบและใช้ข้อสอบชุดเดียวกันทดสอบผู้เรียนเพื่อวัดผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านตามที่ระบุ
2.3 การประเมินการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินการทวนสอบข้อสอบก่อนนำไปใช้ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาและเห็นชอบข้อสอบก่อนนำไปใช้
การปรับปรุงการสอน ดำเนินการดังนี้
3.1 จัดให้มีการสัมมนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการพัฒนารายวิชา โดยนำผลการประเมินประสิทธิภาพรายวิชา ผลการประเมินการสอน ผลการสอบ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประกอบการพิจารณา
3.2 จัดให้มีการวิจัยในชั้นเรียน หรือ การรายงานการปฏิบัติงานสอน ทุกสัปดาห์
3.1 จัดให้มีการสัมมนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการพัฒนารายวิชา โดยนำผลการประเมินประสิทธิภาพรายวิชา ผลการประเมินการสอน ผลการสอบ และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประกอบการพิจารณา
3.2 จัดให้มีการวิจัยในชั้นเรียน หรือ การรายงานการปฏิบัติงานสอน ทุกสัปดาห์
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชานี้ จะดำเนินการอย่างต่อเนื่องในรายหัวข้อ ดังนี้
4.1 การมอบหมายแบบฝึกหัดและกำหนดให้ส่ง
4.2 การมอบหมายให้นิสิตได้นำเสนอแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมายให้เพื่อนร่วมชั้นได้ฟังและตรวจสอบความถูกต้อง
4.3 การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4.4 การทวนสอบโดยการสอบวัดผลจากอาจารย์ผู้สอน
4.5 การทวนสอบเนื้อหาข้อสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือคณะกรรมการที่แต่งตั้ง
4.6 การทวนสอบการให้คะแนนผลการสอบจากผู้สอนร่วมโดยวิธีสุ่ม
4.7 การทวนสอบการวัดผลการสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือคณะกรรมการที่แต่งตั้ง
4.1 การมอบหมายแบบฝึกหัดและกำหนดให้ส่ง
4.2 การมอบหมายให้นิสิตได้นำเสนอแบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมายให้เพื่อนร่วมชั้นได้ฟังและตรวจสอบความถูกต้อง
4.3 การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4.4 การทวนสอบโดยการสอบวัดผลจากอาจารย์ผู้สอน
4.5 การทวนสอบเนื้อหาข้อสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือคณะกรรมการที่แต่งตั้ง
4.6 การทวนสอบการให้คะแนนผลการสอบจากผู้สอนร่วมโดยวิธีสุ่ม
4.7 การทวนสอบการวัดผลการสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือคณะกรรมการที่แต่งตั้ง
จากผลการประเมินประสิทธิภาพในข้อ 1. และ ข้อ 2. ดังกล่าวแล้วข้างต้น รวมทั้งการนำไปปรับปรุงการสอนในข้อ ๓. แล้วนั้น เพื่อให้การสอนของรายวิชานี้มีคุณภาพอันนำไปสู่การผลิตบัณฑิตทางการบัญชีที่ มีคุณภาพตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชีและการเงิน ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน ดังนี้
5.1 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน โดยการให้มีอาจารย์ผู้สอนเดิมอยู่อย่างน้อย ๑ คน แล้วจัดอาจารย์ผู้สอนใหม่เข้ามาหากสามารถดำเนินการได้ เพื่อให้ได้รับมุมมองใหม่จากอาจารย์ผู้สอนท่านใหม่
5.2 ทบทวนและปรับปรุงหัวข้อการสอน กลยุทธ์การสอน วิธีการสอน วิธีการวัดผลและประเมินผล ฯลฯ ตามที่ได้รับจากผลการประเมิน
5.1 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน โดยการให้มีอาจารย์ผู้สอนเดิมอยู่อย่างน้อย ๑ คน แล้วจัดอาจารย์ผู้สอนใหม่เข้ามาหากสามารถดำเนินการได้ เพื่อให้ได้รับมุมมองใหม่จากอาจารย์ผู้สอนท่านใหม่
5.2 ทบทวนและปรับปรุงหัวข้อการสอน กลยุทธ์การสอน วิธีการสอน วิธีการวัดผลและประเมินผล ฯลฯ ตามที่ได้รับจากผลการประเมิน