การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

Teaching English for International Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่พูดภาษาอื่นและมีวัฒนธรรมที่ต่างกัน  ฝึกปฏิบัติการสอน บูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้น เรียน  สร้างแบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้จากการฝึกปฏิบัติและแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงไปใช้ในวิชาชีพ
2.2 เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
       พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการ
        สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาทฤษฏีเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ นำความรู้ในรายวิชาต่างๆ มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสร้างบทเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่พูดภาษาอื่นและมีวัฒนธรรมที่ต่างกัน  ฝึกปฏิบัติการสอน บูรณาการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอน  วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน สร้างแบบทดสอบและประเมินผลการเรียน
-     อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
-    อาจารย์ให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์สาขา    หรือทางจดหมายอิเลคทรอนิคส์
 
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม  จริยธรรมเพื่อให้สามารถ ดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น  และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชาต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม  จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1.1.1 . [O]    มีจิตส ำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (เน้นรอง)
1.1.2.   [  ]   มีจรรยำบรรณทำงวิชำกำรและวิชำชีพ
1.1.3.   [· ]   มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (เน้นหลัก)
1.1.4    [   ]   เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1     บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมจริยธรรม และ การเสียสละของการผู้ที่จะประกอบอาชีพครู
1.2.2    อภิปรายกลุ่ม
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.2     มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำเสนออย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3     ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษา  ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอันเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม  นอกจากนี้ยังเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพจ่างๆ  ที่ต้องนำไปปฏิบัติงานได้  ดังนั้นมาตราฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
2.1.1  [·] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (เน้นหลัก)
2.1.2  [O] สามารถติดตามความก้าหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา (เน้นรอง)
2.1.3  [·]  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (เน้นหลัก)
2.1.4  [O] สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ (เน้นรอง)
     
บรรยาย อภิปราย การท างานกลุ่ม การน าเสนอรายงาน ผู้สอนมอบหมายให้ค้นหา ทฤษฎีการสอนภาษาอังกฤษและแนวทางการสอนภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพนำมาสรุป และนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.1    ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ และทฤษฏี
2.3.2    ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษา  ดังนั้นนักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญา   ความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาไปพร้อมกับคุณธรรมและจริยธรรม  โดยกระบวนการเรียนการสอนต้องเน้นให้นักศึกษารู้จักหาเหตุผล เข้าใจ ที่มาและ สาเหตุของปัญหา  แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง  นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
3.1.1 [· ] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (เน้นหลัก)
3.1.2 [  ] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (ไม่เน้น)
3.1.3 [· ] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์
               และวัฒนธรรมสากล (เน้นหลัก)
3.2.1     การมอบให้นักศึกษาท าโครงการสอนที่บูรณาการวิชาความรู้ในวิชาอื่น วิเคราะห์และ ปรับเนื้อหาให้เหมาะสม เพื่อนนำไปใช้เป็นบทเรียน
3.2.2      อภิปรายกลุ่ม
3.3.1    สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การสอน และแนวทางการแก้ไขปัญหา
3.3.2    วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน
3.3.3     สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1     ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ    ที่ต้องพัฒนา
    สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลเป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทั้งเข้าใจในวัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม  นักศึกษาจึงต้องมีโอกาสเข้ารับการฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการณ์ เพื่อเรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับบุคคลและกลุ่มบุคคลต่างๆ เช่นผู้บังคับบัญชา  ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน   ดังนั้นผู้สอนต้องแนะนำการวางตัว  มารยาทในการเข้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลดังนี้
4.1.1 [ · ] มีมนุษยสัมพันธ์และมำรยำทสังคมที่ดี  (เน้นหลัก)
4.1.2 [O] มีภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตาม (เน้นรอง)
4.1.3 [· ] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (เน้นหลัก)
4.1.4 [  ]สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (ไม่เน้น)
4.2.1    จัดกิจกรรมกลุ่ม
4.2.2    มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3    การน าเสนอรายงาน
4.3.1    ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2    ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3     ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1   ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
       ในยุคปัจจุบัน  เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพ  นักศึกษามีความรู้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน  การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง  ดังนั้น นักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชา  ด้วยเหตุนี้  ผู้สอนต้องใช้เท๕โนโลยีในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติดังนี้    
5.1.1  [   ] เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม (ไม่เน้น)
5.1.2  [   ]  สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (ไม่เน้น)
5.1.3 [ · ] ใช้ภาษาไทยและภาษาต่่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล ( เน้นหลัก)
5.2.1    มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน   E-  Learning
5.2.2       มอบหมายให้จัดทำรายงานเป็นรูปเล่มและนำเสนองาน
5.3.1    ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2     ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 13031448 การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.4 ทักษะทางปัญญา 3.1 / 3.3 สอบกลางภาค หน่วยที่ 1-3 และ สอบปลายภาค หน่วยที่ 4 สัปดาห์ที่ 9 (สอบกลางภาค) สัปดาห์ที่ 18 (สอบปลายภาค) -สอบกลางภาค 15 % -สอบปลายภาค 15 %
2 คุณธรรม จริยธรรม 1.1 / 1.3 ความรู้ 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.4 ทักษะทางปัญญา 3.1 / 3.3 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 / 4.2 / 4.3 ทักษะการวิเคาระห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ 5.3 1. ให้นักศึกษาทดลองฝึกสอนในชั้นเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้เพื่อนร่วมชั้นเรียน แสดงบทบาทเป็นนักเรียน 2 ให้นักศึกษาออกปฏิบัติฝึกสอนกับนักเรียนจริงที่ โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ 3. ให้นักศึกษาเข้าร่วมสัมมนา โดยนักศึกษารายบุคคลนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติฝึกสอนกับนักเรียนจริงที่โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ สัปดาห์ที่ 13 และ 17 50 %
3 คุณธรรม จริยธรรม 1.1 / 1.3 จิตพิสัย 1. การเข้าร่วมกิจกรรมในการเรียนการสอน การมีจิตอาสาไปให้ความรู้ทางภาษาอังกฤษ กับนักเรียนบ้านหัวเวียงเหนือโดยนักศึกษาต้องประพฤติตน เป็นแบบอย่างทีดีมีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาชีพครู และนักศึกษาต้องไปฝึกปฏิบัติการสอนจริง และนำผลการดำเนินงาน มาจัดการสัมมนาการฝึกปฏิบัติฝึกสอนจริงที่โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ (1.1) 2. การเข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และส่งงานตรงตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายงาน และเข้าร่วมกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน (1.3) ตลอดภาคการศึกษา 10 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 /4.2 / 4.3 1. ให้นักศึกษาทดลองฝึกสอนในชั้นเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้เพื่อนร่วมชั้นเรียน แสดงบทบาทเป็นนักเรียน และสังเกตุพฤติกรรมการทำกิจกรรมร่วมกัน ของนักศึกษา (4.1) 2 ให้นักศึกษาออกปฏิบัติฝึกสอนกับนักเรียนจริงที่ โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ และสังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา ตลอดจน ดูผลการ สัมมนาหลังการฝึกปฏิบัติการสอน (4.1 / 4.2 / 4.3 ) 3. ให้นักศึกษาเข้าร่วมสัมมนา โดยนักศึกษารายบุคคล / เป็นกลุ่ม นำเสนอผลการฝึกปฏิบัติฝึกสอนกับนักเรียนจริงที่โรงเรียนบ้านหัวเวียงเหนือ (4.1) สัปดาห์ที่ 13 - 17 10%
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลักเอกสารประการการสอนตามแผนการสอนที่กำหนดไว้
Farrell. T.S.C. (2002). Lesson planning. In J.C. Richards; and W.A. Renandya (eds.), Methodology in language           teaching. Cambridge: Cambridge University Press.5
Jacobs, G.M., Lee, G.S. & Ball, J. (1995). Learning cooperative learning via cooperative learning. Singapore:             SEAMEO Regional Language Centre.
Nunan, D. (1989) Designing tasks for the communicative classroom. Cambridge: Cambridge University Press.
Richards, C. and Renandya, W.A. (2002) Methodology in language Teaching. Cambridge: Cambridge                        University Press.
Richards, C. & Rodgers, T. (1986). Approaches and methods in language teaching. Cambridge: Cambridge
         University  Press.
Woodward, T. (2001) Planning lessons and courses. Cambridge: Cambridge University Press.
 
 http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm
http://www.learners.in.th/blogs/posts/283159
http://isc.edu.ku.ac.th/course/data/01156522_2010_01_01.pdf 
ttp://journals.cambridge.org/action/displayAbstract?fromPage=online&aid=2546864
http://teachingcommons.depaul.edu/How_to/Develop_a_Course/design.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
 2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3    การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูล เพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1    สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
 รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผล การเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นโดยปรับปรุงรายวิชาทุก
3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4