ปฏิบัติงานระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์

Electronics Controls Engines Workshop

เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบส่งจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เพื่อศึกษาระบบควบคุมการจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล เพื่อให้สามารถเข้าใจระบบประจุอากาศ เพื่อให้สามารถเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณและระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับระบบควบคุมมลพิษ และสามารถเข้าใจระบบวิเคราะห์ข้อบกพร่อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบส่งจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบควบดุม การจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล ระบบประจุอากาศ อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ ระบบควบคุม อิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมมลพิษ ระบบวิเคราะห์ข้อบกพร่อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบส่งจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบควบคุมการจ่ายเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล ระบบประจุอากาศ อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมมลพิษ ระบบวิเคราะห์ข้อบกพร่อง
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการเป็นรายบุคคลตาม ความเหมาะสม
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้
1.  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าชองคุณธรรม จริยธรรม  
2.   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3.   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดขอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4.   เคารพในคุณค่าและศักดศรีของความเป็นมนุษย์
(1) กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกผิงให้นักศึกษามีระเบียบ วินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เซ่นการเข้าชั้น เรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย (2) กำหนดให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่ม โดย'ฝืก ให้รู้บทบาทและหน้าที่ของการเป็นผู้น่ากลุ่ม การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเคารพสิทธิและรับพิงความคิดเห็น ของผู้อื่น รวมทั้งการเห็นคุณค่าและศักดศรีของความเป็นมนุษย์ (3) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความ ซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่ดัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น (4) จัดกิจกรรมส่งเสริมและคิดแก้บีญหาทางคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิช าช ีพ ค รู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ เซ่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำความดี การทำประโยชน์และเสียสละแก่ส่วนรวม
(1) ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เซ่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (2) ประเมินความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม การน่าเสนอรายงานหน้า ชั้นเรียน และการรับพิงความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน (3) ประเมินจากรายงานการกระทำทุจริตในการสอบ การมีมารยาททาง วิชาการ และการตรวจสอบการดัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น (4) ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ
 
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษาซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักษะอันเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้และเข้าใจ ดังนั้น มาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
1.  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3.   สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้!นศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(1) เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อชองลักษณะรายวิชา โดย การวิเคราะห์และลังเคราะห์ตามสภาพจริง (2) ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาด้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ ลังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่ เหมาะสม แล้วน่ามาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ (3) ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการน่าความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อน่ามา ประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการผึเกงานในสถานประกอบการ และ ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
 
ประเมินจากผลลัมฤทธทางการเรียนและการปฏิบัติชองนักศึกษาในด้านต่างๆ ดังนี้ (1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน (2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย (3) ประเมินผลจากการน่าเสนอโครงการ (4) ประเมินผลจากการผึเกงานในสถานประกอบการ (5) ประเมินผลจากการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษา ดังนั้น นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญา พร้อมกับคุณธรรม และจริยธรรม โดย กระบวนการเรียนการสอนต้องเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เช้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้  
1  มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2.  มีทักษะในการน่าความรู้มาใช้งานอย่างเป็นระบบ
(1) ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย'ฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ (2) ให้ผู้เรียนสืบด้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุป ประเด็นชองสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
(1) ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (2) ประเมินผลจาการฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ (3) ประเมินผลจากการอธิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้ จากการสืบด้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีความเกี่ยวช้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลนักศึกษาจึงต้องได้รับการ'ฝืกประสบการณ์พื่อเรียนรู้การปรับตัวให้เช้ากับบุคคลและกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ดังนั้น ผู้สอนต้องแนะน่าการวางตัว มารยาทในการเช้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวช้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลดังนี้
1    มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2    มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3    สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4    สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) ส่งเสริมการน่าเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ (3) กำหนดบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแกไข ข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ (4) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการบริการทางวิชาการต่อสังคม
(1) ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมบุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) ประเมินผลการน่าเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ (3) ประเมินผลการทำงานเป็นทีมตามที่ได้รับมอบหมาย (4) ประเมินผลการดำเนินการบริการทางวิชาการต่อสังคม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
ในปิจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและ การประกอบอาชีพ นักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์เซิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง ดังนั้นอาจารย์ผู้สอน ต้องผึเกให้นักศึกษามีคุณสมบัติคังนั้  
1.  มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเชียน อันมีผลทำให้สามารถเช้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปิญหาได้อย่างรวดเร็ว  
2.  สามารถใช้ดุลยพินิจในการลืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแกิไฃป็ญหาอย่างเหมาะสม  
3.  สามารถสนทนา เชียน และน่าเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
(1) ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ (2) วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร (3) น่าเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูล ข่าวสาร (2) ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย (3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการน่าเสนอผลงาน (4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทางาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จาเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังข้อต่อไปนี้
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
(1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน (2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ (3) สนับสนุนการเช้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ (4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา (5) สนับสนุนการจัดทำโครงงาน (6) การ'ฝึกงานในสถานประกอบการ (7) การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
 
(1) ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน (2) ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน (3) ประเมินผลจากโครงงานนักศึกษา (4) ประเมินผลการฝึกงานในสถานประกอบการ (5) ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าชองคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดขอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้!นศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบด้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต้ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกิใฃปิญหาอย่าง เหมาะสม ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 31045310 ปฏิบัติงานระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.1, 5.2 ทดสอบย่อย1 ทดสอบย่อย2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อย3 ทดสอบย่อย4 สอบปลายภาค 4 6 9 13 15 17 10% 10% 15% 10% 10% 15%
2 1.1, 1.2, 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 5.2, 5.3 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- คู่มือเครื่องยนต์ อีซูซุ(IZUSU) โตโยต้า (TOYOTA) ฮอนด้า (HONDA)
- คู่มือเครื่องวิเคราะห์เครื่องยนต์ Pad II Lunch x-431
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
- elearning RMUTL
 

 

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่าน...เว็บบอร์ด...ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสังเกตการณ์สอนของ...ผู้ร่วมทีมสอน......หรือการสังเกตการณ์จากคณะผู้ประเมิน..... ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง
การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4


เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ