การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Object Oriented Programming
เข้าใจเรื่องการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ
เข้าใจแนวคิดเชิงวัตถุ
เข้าใจลักษณะสำคัญขององค์ประกอบพื้นฐานของวัตถุ
มีทักษะในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุได้อย่างถูกต้องตามทฤษฎี
เห็นความสำคัญของการใช้แนวคิดเชิงวัตถุเพื่อเขียนโปรแกรม
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐาน ด้านระบบสารสนเทศของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แนวคิดเชิงวัตถุคลาสออบเจ็กต์ การซ่อนสารสนเทศ การห่อหุ้ม ความสามารถในการสร้างตัวแทน กรรมวิธีการถ่ายทอดคุณสมบัติ ภาวะที่มีหลายรูปแบบ ยูเอ็มแอลและภาษาสัญลักษณ์ที่ใช้ในการอธิบายโมเดล และการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมโดยใช้แนวคิดเชิงวัตถุ
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กล่าวถึงการมีวินัย และการตรงต่อเวลา
บอกผลดีของการมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
บรรยายและเสนอแนะเพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
อธิบายถึงประโยชน์ของการมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและผลกระทบในการละเมิดจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ความประพฤติของนักศึกษาและพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา
การแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
ความตรงต่อเวลาในการส่งผลงานของนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายการเขียนโปรแกรมบนเว็บ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
สามารถวิเคราะห์ออกแบบ ติดตั้งปรับปรุงโปรแกรมบนเว็บ ให้ตรงกับข้อกำหนด
มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายและแสดงตัวอย่างประกอบ
- ให้แบบฝึกหัดและใบงานฝึกปฏิบัติ
- ให้แบบฝึกหัดและใบงานฝึกปฏิบัติ
ผลงานจากแบบฝึกหัดและการฝึกปฏิบัติ
ให้แบบฝึกหัดและใบงานฝึกปฏิบัติ
นำเสนอผลงานจากแบบฝึกหัดและใบงาน
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมมีวิจารณญาณในการเขียนโปรแกรมบนเว็บอย่างเป็นระบบ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
บรรยายและแสดงตัวอย่างประกอบ
ให้แบบฝึกหัดและใบงานฝึกปฏิบัติโดยกำหนดรูปแบบงานให้นักศึกษาสามารถใช้ทักษะเพื่อแก้ปัญหา
ผลงานจากแบบฝึกหัดและการฝึกปฏิบัติ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสารมารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
จัดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการเขียนโปรแกรมบนเว็บ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละบุคคลอย่างชัดเจน
ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อระบบงานที่นำเสนอ
นำเสนอโปรแกรมบนเว็บโดยสมาชิกในกลุ่มต้องมีส่วนร่วมในการนำเสนอ
ความสามารถของสมาชิกในการตอบข้อซักถามของอาจารย์หรือเพื่อนร่วมชั้น
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานโดยกำหนดรูปแบบงานให้นักศึกษาสามารถใช้ทักษะเพื่อแก้ปัญหา และนำเสนอผลงาน จัดส่งผลงาน
นำเสนอผลงาน และตอบข้อสักถามของอาจารย์
ตรวจผลงาน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2, 1.7 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4 | แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 | 1, 4, 5, 7, 10, 12, 14, 15, 16 | 18% |
2 | 2.1, 2.2, 2.3, 2.7, 2.8 3.1, 3.4 | สอบกลางภาค | 8 | 30% |
3 | 4.4 5.1, 5.3, 5.4 | นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกแบบ Class Diagram และนำเสนอ | 14-16 | 12% |
4 | 2.1, 2.2, 2.3, 2.7, 2.8 3.1, 3.4 | สอบปลายภาค | 17 | 30% |
คทาวุธ แก้วบรรจง. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ.ปรับปรุงครั้งที่ 2.
ชวลิต ขันคำ. หนังสือการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษาจาวา. สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือราคานักเรียน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียนและการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
แก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
นักศึกษาเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
การวิจัยใน/นอกห้องเรียน
มีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่มของผู้เรียน โดยผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาที่ผิดปกติหรือไม่ และมีการแจ้งผลของคะแนนที่ได้รับเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา