ระบบบัญชี
Accounting System
๑.๑ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงลักษณะของระบบบัญชี ส่วนประกอบของระบบบัญชีเอกสาร ทางการบัญชีหรือแบบฟอร์มที่ใช้ในระบบบัญชี สมุดรายวัน บัญชีแยกประเภท การกำหนดรหัสบัญชี เครื่องมือที่ใช้ในระบบบัญชี การควบคุมภายใน
๑.๒ เพื่อให้นักศึกษาเห็นตัวอย่างของระบบบัญชีในการซื้อ การขาย การรับเงินจ่ายเงิน เงินเดือนและค่าแรง การควบคุมสินค้า ลูกหนี้ เจ้าหนี้ และค่าใช้จ่ายในการผลิต
๑.๓ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบบัญชีแต่ละกิจกรรมและสามารถอธิบายแผนผังทางเดินเอกสารของแต่ละกิจกรรมได้
๑.๔ เพื่อฝึกหัดการนำแนวคิด หลักการและวิธีการบัญชี ตามมาตรฐานรายงานทางการเงินในปัจจุบัน ไปใช้ในทางปฏิบัติและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับหนี้สินและส่วนของเจ้าของได้อย่างถูกเพื่อฝึกนักศึกษา
ทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักการทำงานโดยมีแผนงานกำหนดไว้ล่วงหน้าและส่งงานตรงเวลา
๑.๒ เพื่อให้นักศึกษาเห็นตัวอย่างของระบบบัญชีในการซื้อ การขาย การรับเงินจ่ายเงิน เงินเดือนและค่าแรง การควบคุมสินค้า ลูกหนี้ เจ้าหนี้ และค่าใช้จ่ายในการผลิต
๑.๓ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบบัญชีแต่ละกิจกรรมและสามารถอธิบายแผนผังทางเดินเอกสารของแต่ละกิจกรรมได้
๑.๔ เพื่อฝึกหัดการนำแนวคิด หลักการและวิธีการบัญชี ตามมาตรฐานรายงานทางการเงินในปัจจุบัน ไปใช้ในทางปฏิบัติและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับหนี้สินและส่วนของเจ้าของได้อย่างถูกเพื่อฝึกนักศึกษา
ทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักการทำงานโดยมีแผนงานกำหนดไว้ล่วงหน้าและส่งงานตรงเวลา
๒.๑ เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะในการจัดทำส่วนประกอบระบบบัญชีให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง
๒.๒ เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี
๒.๒ เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี
ศึกษาความหมายและลักษณะของระบบบัญชี ส่วนประกอบของระบบบัญชี เอกสารทางการบัญชีหรือ
แบบฟอร์มที่ใช้ในระบบบัญชี สมุดรายวันต่างๆ บัญชีแยกประเภท การก าหนดบัญชี เครื่องมือที่ใช้ในระบบบัญชีการควบคุมภายใน ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ การขาย การรับเงิน การจ่ายเงิน เงินเดือนและค่าแรงการผลิตสินค้า เป็นต้น
แบบฟอร์มที่ใช้ในระบบบัญชี สมุดรายวันต่างๆ บัญชีแยกประเภท การก าหนดบัญชี เครื่องมือที่ใช้ในระบบบัญชีการควบคุมภายใน ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ การขาย การรับเงิน การจ่ายเงิน เงินเดือนและค่าแรงการผลิตสินค้า เป็นต้น
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาของผู้สอน โดยประมาณ ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และตามกำหนดการนัดหมายของนักศึกษา ห้องพักสาขาการบัญชี
๑) มีความรู้และเข้าใจในคุณค่าของระบบบัญชี มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
๒) มีความซื่อสัตย์สุจริต สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและข้อตกลงการเรียน
๓) สามารถทำงานที่มอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
๔) เข้าใจการท างานเป็นทีม ฟังความคิดเห็นของคนในกลุ่มเพื่อความส าเร็จของงาน
๒) มีความซื่อสัตย์สุจริต สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและข้อตกลงการเรียน
๓) สามารถทำงานที่มอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
๔) เข้าใจการท างานเป็นทีม ฟังความคิดเห็นของคนในกลุ่มเพื่อความส าเร็จของงาน
๑) กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตามเวลาที่ กำหนด มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
๒) บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะ
๒) บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะ
๑) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษา ให้คะแนน 10%
๒) สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย
๓) ประเมินจากการทุจริตในการสอบ
๔) ประเมินจากส่งงานหรือแบบฝึกหัดทันตามเวลาที่กำหนด
๒) สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย
๓) ประเมินจากการทุจริตในการสอบ
๔) ประเมินจากส่งงานหรือแบบฝึกหัดทันตามเวลาที่กำหนด
๑) รู้และเข้าใจความหมายและลักษณะของระบบบัญชี ส่วนประกอบของระบบบัญชี เอกสารทางการบัญชีหรือแบบฟอร์มที่ใช้ในระบบบัญชี สมุดรายวันต่าง ๆ บัญชีแยกประเภท การกาหนดบัญชี เครื่องมือที่ใช้ในระบบบัญชี การควบคุมภายใน ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ การขาย การรับเงิน การจ่ายเงิน เงินเดือนและค่าแรงการผลิตสินค้า
๒) รู้และเข้าใจกฎหมายและการบัญชีที่มีความสัมพันธ์กับส่วนประกอบของระบบบัญชีการควบคุมภายใน
๓) นำเอาความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้และออกแบบส่วนประกอบของระบบบัญชีของธุรกิจจากงานกลุ่มที่นักศึกษาสนใจ
๒) รู้และเข้าใจกฎหมายและการบัญชีที่มีความสัมพันธ์กับส่วนประกอบของระบบบัญชีการควบคุมภายใน
๓) นำเอาความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้และออกแบบส่วนประกอบของระบบบัญชีของธุรกิจจากงานกลุ่มที่นักศึกษาสนใจ
๑) การสอนแบบกรณีศึกษา รวมถึงการบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษาจริง
๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากกลุ่มธุรกิจที่สนใจ เพื่อใช้ประกอบการเรียนและทำแบบฝึกหัด
๓) การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ และให้นักศึกษาวิเคราะห์จากโจทย์ปัญหาจริง นำมาอภิปรายซักถามในห้องเรียน
๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากกลุ่มธุรกิจที่สนใจ เพื่อใช้ประกอบการเรียนและทำแบบฝึกหัด
๓) การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ และให้นักศึกษาวิเคราะห์จากโจทย์ปัญหาจริง นำมาอภิปรายซักถามในห้องเรียน
๑) สอบกลางภาค
๒) สอบปลายภาค
๓) สอบย่อย
๔) งานที่มอบหมาย (โครงการกลุ่ม และการนำเสนองาน)
๕) ความถูกต้องของการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา
๒) สอบปลายภาค
๓) สอบย่อย
๔) งานที่มอบหมาย (โครงการกลุ่ม และการนำเสนองาน)
๕) ความถูกต้องของการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา
๑) สามารถนำความรู้ไปใช้แก้โจทย์ปัญหาอภิปรายท้ายบท และการวิเคราะห์ปัญหาด้วยตนเอง
๒) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านส่วนประกอบของระบบบัญชีในการใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาส่วนประกอบของระบบบัญชีของธุรกิจจริงที่นักศึกษาไปสอบถาม สืบค้น เป็นไปตามข้อกาหนดตามกฎหมายบัญชี
๓) สามารถติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบบัญชี ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
๒) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านส่วนประกอบของระบบบัญชีในการใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาส่วนประกอบของระบบบัญชีของธุรกิจจริงที่นักศึกษาไปสอบถาม สืบค้น เป็นไปตามข้อกาหนดตามกฎหมายบัญชี
๓) สามารถติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบบัญชี ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
๑) บรรยาย ยกตัวอย่าง ถาม – ตอบในชั้นเรียน
๒) ฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา
๓) การให้ทำหัวข้ออภิปรายท้ายบทเป็นกลุ่มและมอบหมายให้มีการทำรายงานพิเศษเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบบัญชีจากธุรกิจที่กลุ่มสนใจ
๒) ฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา
๓) การให้ทำหัวข้ออภิปรายท้ายบทเป็นกลุ่มและมอบหมายให้มีการทำรายงานพิเศษเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบบัญชีจากธุรกิจที่กลุ่มสนใจ
๑) สอบกลางภาค
๒) สอบปลายภาค
๓) การตอบปัญหาในชั้นเรียน การแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดและปัญหาต่างๆ
๔) คุณภาพของ กรณีศึกษา การนำเสนอ หน้าชั้นเรียน การตอบปัญหาในชั้นเรียน
๒) สอบปลายภาค
๓) การตอบปัญหาในชั้นเรียน การแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดและปัญหาต่างๆ
๔) คุณภาพของ กรณีศึกษา การนำเสนอ หน้าชั้นเรียน การตอบปัญหาในชั้นเรียน
๑) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒) สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในกลุ่มได้ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และสามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓) สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆของผู้ร่วมกลุ่มได้เป็นอย่างดี
๔) มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่าง ต่อเนื่อง
๒) สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในกลุ่มได้ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และสามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓) สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆของผู้ร่วมกลุ่มได้เป็นอย่างดี
๔) มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่าง ต่อเนื่อง
๑) มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่มย่อย กรณีศึกษากลุ่ม ละ 3 - 5 คน
๒) นำเสนอรายงาน หรือ การแก้ปัญหากรณีศึกษาหน้าชั้นเรียน
๒) นำเสนอรายงาน หรือ การแก้ปัญหากรณีศึกษาหน้าชั้นเรียน
๑) ประเมินผลจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
๒) ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
๓) นักศึกษาในกลุ่มประเมินผลและแสดงผลการประเมินโดยสลับกันเป็นหัวหน้าทีม
๒) ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
๓) นักศึกษาในกลุ่มประเมินผลและแสดงผลการประเมินโดยสลับกันเป็นหัวหน้าทีม
๑) สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อตัดสินใจ และรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบอย่างชัดเจน
๒) สามารถรายงานผลการวิเคราะห์ทั้งด้วยวาจา และการเขียนรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสมและนำเสนอได้ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
๓) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บ รวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
๒) สามารถรายงานผลการวิเคราะห์ทั้งด้วยวาจา และการเขียนรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสมและนำเสนอได้ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
๓) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บ รวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
๑) สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับระบบบัญชีของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม
๒) จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
๒) จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
๑) การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
๒) ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา ที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
๒) ประเมินผลจากสื่อและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๓) การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา จากกรณีศึกษา ที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1 ๑,๒,๓,๕ 2 ๓,๔,๕ 3 ๑,๒,๓,๔,๕ | 1 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบย่อย 2 รายงานกลุ่ม การนำเสนองาน การวิเคราะห์ปัญหาหน้าชั้นเรียน และ ในขณะเรียน 3 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถามในห้องเรียน ความมีวินัย ตรงเวลา ในการเข้าเรียน | 1 ๘ ๑๕ ๓,๑๑ 2 ๑๔ 3 สุ่มเป็นรายสัปดาห์ | 1 ๓๐% ๓๐% ๑๐% 2 ๒๐% 3 ๑๐% |
เอกสารประกอบการสอน ระบบบัญชี ของ วิไล วีรปรีย, จงจิตย์ หลีกภัย, ประจิต หาวัตร
การออกแบบระบบบัญชีในงานธุรกิจที่ประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ ของ รศ. วันเพ็ญ กฤตผล
ระบบบัญชี ของ เมธสิทธิ์ พูลดี
ระบบบัญชี ของ เมธสิทธิ์ พูลดี
- www.sec.or.th www.fap.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลการสอบของนักศึกษา และจากงานกลุ่มการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา
ปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา จากภาคการศึกษาที่ผ่านมา ดังนี้ เพิ่มความหลากหลายของ ตำรา/เอกสารประกอบการสอน ในการเรียนการสอน และมีการแนะนำเพิ่มเติมแนะนำนักศึกษาให้พัฒนาวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากตำรา/เอกสาร/อินเตอร์เน็ตหรือแหล่งวิทยาการอื่นๆ
ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา การทำกรณีศึกษา
ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา การทำกรณีศึกษา
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลการประเมินข้อ ๑ ข้อ ๓ ข้อ ๔ มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เรื่อง ผู้สอน ตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ