ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
  1.1  เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต
  1.2  สามารถรู้และเข้าใจตนเอง
  1.3  ประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
  1.4  สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่  
1.5  สามารถออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
     เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
1. คำอธิบายรายวิชา
   วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
Study science and ethics in life, intellectual development processes for solving daily life problems and pursuit of sustained happiness; mind practice; emotional management; self-understanding and self-esteem; personality and development; anti-corruption; modern social behavior; application of information technology for case studies
 
 1.อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง  (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 2.แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน
3. แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ส่วนตัวและอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
 
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4.เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
 
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. เพื่อนคู่คิด
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. เพื่อนคู่คิด
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
 
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บทบาทสมมติ
2. เพื่อนคู่คิด
3. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBIN103 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1, 3.2 การอภิปราย การอภิปราย 3-5 10%
4 2.1, 3.2 กรณีศึกษา 1,2,5,10-12 15%
5 1.3, 2.1 การสอบปลายภาค การสอบปลายภาค 17 30%
6 1.3, 2.1, 3.2, 4.1, 5.1 โครงงาน/รูปเล่มโครงงาน/การนำเสนอโครงงาน 16 30%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
 เอกสารประกอบการสอน ศิลปการใช้ชีวิต.คณาจารย์กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1
          ,2561
 -กันยา  สุวรรณแสง,  จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. :  สำนักพิมพ์อักษรพิทยา, 2540. หน้า 108 -109.
-สุจิตรา  รณรื่น,  ศาสนาเปรียบเทียบ  กทม. :  บริษัทสหธรรมิก จำกัด, 2538. หน้า 206-207 และหน้า 237-238.
-ณรงค์  เส็งประชา.  สังคมวิทยา.  พิมพ์ครั้งที่  2 ปรับปรุงแก้ไข. กทม : สำนักพิมพ์พิทักษ์อักษร,2537
-สุพิศวง  ธรรมพันทา.  มนุษย์กับสังคม . ดีดีบุ๊คสโตร์. 2540
-สุพัตรา  สุภาพ.   สังคมวิทยา.   พิมพ์ครั้งที่  18.   กทม. : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,  2537
-นิยม  บุญมี.  ครอบครัวสัมพันธ์.  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2534
-ธัญญะ  บุศยเวส และคณะ  จิตวิทยาเบื้องต้น. ขอนแก่น  : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2534
 -วิจิตร  ตระกุล  เทคนิคมนุษยสัมพันธ์.  กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์พิฆเนศ, 2533
- บุญมี  แท่นแก้ว. จริยธรรมกับชีวิต. กรุงเทพฯ : โอเดียนสตาร์, 2541
---------------------. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2532
- ชัยวัฒน์   อัตพัฒน์. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2520
- พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พุทธธรรม(ฉบับขยายความ). กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
            ,2532
- วิทย์  วิศทเวทย์. จริยศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2526
- สุเชาว์  พลอยชุม. ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2522
-  เอกสารเกี่ยวกับ จริยศาสตร์  ,  ศาสนาเปรียบเทียบ,  จริยธรรมในชีวิต,  จริยธรรมกับวิชาชีพ
หนังสือพิมพ์   
               -วารสารทางวิชาการ
              - เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับการอธิบายคำศัพท์ Wikipedia  และเว็บไซด์อื่นๆ
              - รายการ  เล่าข่าวเช้า,  คนดีของแผ่นดิน ,  คนค้นคน,  จุดเปลี่ยน,  เรื่องจริงผ่านจอ , กรรมลิขิต
               ,ฟ้ามีตา
1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้  
1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
 1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการแบ่งปันรอยยิ้ม และความสุขแก่สังคม
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา  (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น)
2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน   นอกชั้นเรียน  แบบฝึกหัด  งานมอบหมายในชั่วโมง
2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม   การมีจิตอาสา   ความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา
2.4 จากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1  ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
 3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
 4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย        
4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว,  พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
4.3. ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
4.4  การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ 
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน   สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ  และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
5.6 นำเสนอรายการทางโทรทัศน์ที่น่าสนใจ  สอดคล้องกับวิชาศิลปะการใช้ชีวิต