วาดภาพสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ

Creative Drawing for Design

1. เข้าใจความหมายของการวาดภาพสร้างสรรค์
2. เข้าใจกระบวนการพัฒนาการใช้เทคนิคการสร้างสรรค์ โดยให้เนื้อหา สอดคล้องกับการแสดงออกทางศิลปะเพื่อมาปรับใช้กับการออกแบบงานทางด้านผลิตภัณฑ์
3. เห็นความสำคัญของการพัฒนากระบวนการสร้างสรรค์อย่างมีคุณค่า
เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวาดภาพ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอุตสาหกรรม
ปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดแนวความคิดด้วยเทคนิคการเขียนภาพในรูปแบบต่างๆให้เหมาะสมกับการสร้างสรรค์จากแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนวันละ 1 ชั่วโมงรวม 17 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทาง anucha2500@gmail.com และทาง facebook : anucha kaewluang ซึ่งได้แจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เข้าเรียนในสัปดาห์แรก

 
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต

มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

6. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายและปฏิบัติงาน
1 ตรวจชิ้นงาน เช็คชื่อเข้าเรียนและสังเกตความกล้าแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์
2 ส่งผลงานสร้างสรรค์ ประเมินจากการปฏิบัติจริงคุณภาพของชิ้นงานนักศึกษา
3 คะแนนจิตพิสัย
1 นักศึกษาสามารถรู้เข้าใจ และปฏิบัติผลงานวาดเส้นสร้างสรรค์ตามหัวข้อที่กำหนด
2 มีความเข้าใจทางด้านศิลปะสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันและแนะนำ ถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้
3 เห็นคุณค่าความงามในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใช้ความรู้ทางด้านศิลปะและการออกแบบ
1 การบรรยายอภิปรายอย่างมีส่วนร่วม และใช้โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint เป็นสื่อการสอนในชั่วโมงเรียน
2 ปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่อง โดยอาจารย์เป็นผู้กำหนดหัวข้อ
3 นักศึกษานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
1 ตรวจผลงานวาดเส้นสร้างสรรค์ในแต่ละหัวข้อ ตลอดภาคการศึกษา
2 การนำเสนอผลงาน โดยพิจารณาจากแนวคิดและการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา
1 พัฒนาความรู้ความเข้าใจวิธีการวาดภาพสร้างสรรค์
2 รู้จักการวางแผนและการแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการออกแบบ
3 สร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการออกแบบได้ตรงตามแนวความคิดที่นักศึกษานำเสนอ
1 การมอบงานให้นักศึกษา และการนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคล
2 อภิปรายกลุ่ม
1 สอบกลางภาคและปลายภาค
2 วัดผลจากการ การนำเสนอผลงาน
.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
1 การบรรยายทฤษฎีอย่างมีส่วนร่วม อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันวิพากษ์ผลงาน อย่างมีส่วนร่วม
2 ปฏิบัติงานวาดภาพสร้างสรรค์ และนำเสนอผลงาน
1 นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นในช่วงการบรรยายการปฏิบัติงาน
2 ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอ
3 นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นในช่วงการตรวจผลงาน
1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
2 พัฒนาทักษะในการศึกษาการสร้างสรรค์งานศิลปะที่นำมาปรับใช้กับงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3 พัฒนาทักษะในการสืบค้นคว้าจากงานออกแบบผลิตภัณฑ์ของจริงและข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
1 อภิปราย ซักถามระหว่างบรรยายทฤษฏีด้วยการใช้โปรแกรมMicrosoft Office PowerPoint เพื่อเน้นความเข้าใจ
2 การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการออกแบบโดยมีวัสดุจริงเพื่อประกอบในการศึกษา
3 ศึกษานอกเวลา โดยให้ค้นคว้าข้อมูลจากข้อมูลจริง และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เพื่อประกอบในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ และการออกแบบ
1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอ
2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1  มีทักษะการวาดภาพสร้างสรรค์                       6.1.2  มีทักษะในการออกแบบโดยใช้หลักการวาดภาพสร้างสรรค์ได้
6.2.1  มอบหมายให้วาดภาพสร้างสรรค์ตามกระบวนการ             6.2.2  มอบหมายงานวาดภาพสร้างสรรค์  6.2.3  นำเสนอผลงานการวาดภาพสร้างสรรค์
6.3.1   ประเมินจากผลงาน 6.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID107 วาดภาพสร้างสรรค์เพื่องานออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,4,5,9,11,13 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 1,2,3,4,5,6,7,9,10,11,12,13,14,15 ปฏิบัติงาน การทำงานผลงาน ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1,2,3,4,5,6,7,9,10,11,12,13,14,15 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตรงตามกำหนด ตลอดภาค การศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเรื่อง การจัดองค์ประกอบศิลป์, วาดเส้นสร้างสรรค์, ทฤษฎีศิลป์
บุญเลิศ บัตรขาว.กายวิภาค ฉบับนักศึกษาศิลปะ.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2531
โชดก เก่งเขตรกิจ.ความรู้ทั่วไปทางศิลป์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ เสริมวิทย์บรรณาคาร , 2533
ชลูด นิ่มเสมอ.องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2534
เสน่ห์ ธนารัตน์สฤษดิ์.Study Drawing.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ รวมสาส์น จำกัด, 2537
สมเกียรติ ตั้งนโม.ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2537
เกษม ก้อนทอง.วาดเส้นสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์ , 2545
จรูญ โกมุทรัตนานนท์.สุนทรียศาสตร์: ปัญหาเบื้องต้นในปรัชญาศิลปะและความงาม.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2551
ธานี สังข์เอี้ยว.วาดเส้นฝึกมือ ชุด วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ:บจก.สนพ., 2552
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านทางเว็บบอร์ด ที่ผู้สอนจัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับ นักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 การสังเกตการณ์สอน
2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
1 การให้คะแนนจากผลงานสร้างสรรค์รายสัปดาห์

2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงานวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์