นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Innovation and Technology

1.1 เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.2 เข้าใจกระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี 1.3 สามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 1.4 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 สามารถประเมินค่าประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต 1.6 สามารถการออกแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาได้
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต  ฝึกออกแบบนวัตกรรม Study changes in society and evolution of science and technology; process of creating innovation, technology, and environment; impacts of innovation and technology on society and environment; contemporary issues in sciences, innovation and future technology; practice in designing innovations.
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลนอกชั้นเรียนโดยการสื่อสาร-นัดหมายล่วงหน้าผ่านทาง e-mail หรือสื่อสังคมออนไลน์
 
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1) Team Based Learning 2) Collaborative Team Learning
 
 
 
การแสดงออกและการมีส่วนร่วมภายในชั้นเรียน
 
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3) มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
 
1) Team Based Learning 2) Jigsaw Teaching 3) Brainstorming 4) Collaborative Team Learning
 
 
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
 
 
1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1) Team Based Learning 2) Brainstorming 3) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
1) Team Based Learning 2) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
 
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1) Team Based Learning 2) Jigsaw Teaching 3) Brainstorming 4) Collaborative Team Learning
 
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียน ความซื่อสัตย์ต่อการเรียน การส่งรายงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงานที่รับมอบหมาย 1 - 18 10%
2 2.2, 3.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1 – 17 5%
3 1.2, 2.2, 3.2, 5.2 รายงานตามกรณีศึกษา 18 10%
4 2.2, 3.2, 4.3, 5.2 การนำเสนองาน/ความก้าวหน้าของงานที่ได้รับมอบหมาย 1 – 17 25%
5 3.2, 4.3, 5.2 โครงงาน/นิทรรศการ 17 15%
6 3.2, 5.2 ผลงานนวัตกรรม 10 – 17 15%
7 1.2 การสอบกลางภาค 9 20%
หริพล ธรรมนารักษ์และคณะ. เอกสารประกอบการเรียนการสอน, สไลด์ประกอบการสอนแต่ละหน่วยเรียน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน/การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนตัวอย่างจากกรณีศึกษา
ภาษาไทย  กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2549). เทคโนโลยีการศึกษาวิชาชีพ. กรุงเทพ ฯ : สินทวี.  ภคมนวรรณ ขุนพิณี. การคิดเชิงระบบ” (Systems Thinking) สืบค้นคืนวันที่ 8 กรกฎาคม 2560 จากเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/545244  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสาน. “หน่วยที่ 1 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”. รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (บทเรียนออนไลน์) สืบค้นจาก http://cw.rmuti.ac.th/source/science/science_01_1.swf เมื่อ 20 มีนาคม 2557  วิกรณ์ รักษ์ปวงชน.  (2550).  การติดอาวุธสมอง การพัฒนาระบบคิด” ใน ติดอาวุธนักบริหาร. กรุงเทพ ฯ : บริษัทพิมพ์ดี.  สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.  (2555). นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2564).  สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.  (2556). ดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย ปี 2555. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พรินท์ ซิตี้ จำกัด.  สุนทร โคตรบรรเทา.(2551). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ดิสทริบิวเตอร์.  เสริมพล รัตสุข. (2526). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ครีเอตีฟพริ๊นท์.  ภาษาอังกฤษ  Bellanca, James and Brandt, Ron (eds). (2010). 21st century skills : Rethinking How Students Learn. Bloomington, IN : Solution Tree Press.  Bertalanffy, L. Von. (1968). General System Theory. New York : Braziller.  Checklean, Peter. (1982). Systems Thinking, Systems Practice. New York: John Wiley & sons.  Katz, Ralph. 2003. The Human Side of Managing Technological Innovation A Collection of Readings. 2nd Ed. Oxford : Oxford University Press.  Rothwell, Roy and Zegveld, Walter. (1982). Innovation and the Small and Medium Sized Firm. University of Illinois at Urbana-Champaign's Academy for Entrepreneurial Leadership Historical Research Reference in Entrepreneurship. Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=1496714  Sundbo, Jon. (1998). The Theory of Innovation: Entrepreneurs, Technology and Strategy. Cheltenham, Glos, UK : Edward Elgar Publishing Limited.
นักศึกษาทุกคนประเมินการประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้            - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน            - การสะท้อนการคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน            - แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้ - การแลกเปลี่ยนสังเกตการณ์การสอน - ระดับผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
การปรับปรุงการสอน  กระทำทุกปีการศึกษา  โดยพิจารณาจากผลการประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนและผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆ รายวิชามีการปรับปรุงการสอน โดยพิจารณาจากปัจจัยดังนี้ - ผลประเมินรายวิชาจากผู้เรียน - ผลประเมินการสอนจากการสอบถามความสนใจในห้องเรียน - ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ
 
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอน  ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ ได้ดำเนินการทุกครั้งดังนี้ - ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน ได้แก่ การเข้าเรียนและการสังเกตพฤติกรรมโดยผู้สอน - การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชา
 
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา  ดำเนินการทุกปีการศึกษา โดยประมวลจากกระบวนการและผลลัพธ์ ดังนี้ - การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอนดำเนินการทุกปีการศึกษา โดยเฉพาะการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การทบทวน และวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพของหลักสูตรวิชาฯ คณะ ฯ และมหาวิทยาลัย