ระบบโทรทัศน์และระบบเสียง

Television System and Sound System

1. เข้าใจพื้นฐานระบบโทรทัศน์
2. เข้าใจหลักการระบบการส่ง และระบบการรับสัญญาณโทรทัศน์
3. เข้าใจหลักการทำงานของระบบเสียง
4. ติดตั้ง วัดและทดสอบระบบเสียง
5. ตระหนักถึงความสำคัญของวิชาชีพที่เกี่ยวกับระบบโทรทัศน์ และระบบเสียง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน มีความเข้าใจในหลักการระบบโทรทัศน์ และระบบเสียง และเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจในหลักการทำงานของระบบโทรทัศน์ และระบบเสียงไปใช้ในการทำงาน และในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานระบบโทรทัศน์ การส่งและรับสัญญาณโทรทัศน์ เครื่องรับโทรทัศน์สี ระบบโทรทัศน์ แอนะลอก ระบบโทรทัศน์ ดิจิตอลระบบสัญญาณภาพแบบดิจิตอลและการใช้เครื่องมือทดสอบในระบบโทรทัศน์ หลักการทำงานของระบบเสียง การติดตั้งระบบเสียง การวัดและทดสอบคุณสมบัติ ของระบบเสียงแอนะลอกและดิจิตอล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัย
1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.4 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับพื้นฐานระบบโทรทัศน์ การส่งและรับสัญญาณโทรทัศน์เครื่องรับโทรทัศน์สี หลักการทำงานของระบบเสียง การติดตั้งระบบเสียง การวัดและทดสอบคุณสมบัติของระบบเสียง
บรรยาย อภิปราย และสาธิตโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบโดยสอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจพื้นฐานระบบโทรทัศน์การส่งและรับสัญญาณโทรทัศน์ เครื่องรับโทรทัศน์สี
2.3.2 ประเมินจากสมุดบันทึกของนักศึกษา
นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา สถานการณ์จำลอง
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบโทรทัศน์และระบบเสียง
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาที่เรียนด้วยกัน
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มรายงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะด้านการคำนวณตามที่ปรากฏในบทเรียนต่างๆ
5.1.2 ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 ทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้หลักการต่างๆของระบบโทรทัศน์และระบบเสียงต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.4 ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 บรรยายโดยอาศัยเอกสารประกอบการสอน/เอกสารนำเสนอในการสอน และยกตัวอย่างโจทย์รวมถึงวิธีการแก้ปัญหา
5.2.2 กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและการนำเสนอรายงาน
5.2.3 แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4 การมอบหมายรายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดทำรายงาน รวมถึงต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Power point ฯลฯ
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงานและใบงานที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.4 ประเมินทักษะในการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศจากเนื้อหาของเอกสารรายงาน
5.3.5 ประเมินทักษะด้านการคำนวณและแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังข้อต่อไปนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
6.2.5 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.2.6 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.4 มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
6.3.5 มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 1 2
1 32015328 ระบบโทรทัศน์และระบบเสียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 5.2 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 8 17 20% 20%
2 1.3, 2.1,3.1, 5.2 การส่งการบ้าน และสมุดจดบันทึก ใบงาน สอบปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 25% 25%
3 1.3, 4.1,4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ตำราโทรทัศน์ ภาคทฤษฏี และ ปฏิบัติ , บุญถึง แน่นหนา , สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , 2532
2. ตำราโทรทัศน์สี , บุญถึง แน่นหนา , สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , 2522
3. เจน สงสมพันธ์ . เทคโนโลยีโทรทัศน์ภาคสนาม 1. พิมพ์ครั้งที่ 8 สถาบันอิเล็กทรอนิกส์ กรุงเทพรังสิต : 2543
4. เจน สงสมพันธ์ . เทคโนโลยีโทรทัศน์ : พิมพ์ครั้งที่ 9 พฤศจิกายน 2544 สถาบันอิเล็กทรอนิกส์กรุงเทพรังสิต
5. บุญชัด เนติศักดิ์. ทฤษฏีและปฏิบัติเครื่องรับโทรทัศน์ เล่ม 2 กรุงเทพ ,ซีเอ็ดยูเคชั่น : 2544
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ