ธุรกิจเพื่อสังคม

Social Enterprise

1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด รูปแบบวิธีการด าเนินธุรกิจเพื่อสังคม
1.2  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ ยวกับการประยุกต์หลักการบริหารธุรกิจที่ สามารถ น าไปใช้ในธุรกิจเพื่อสังคม
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และใช้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาเพื่อสร้าง ความยั่งยืนของธุรกิจเพื่อสังคม
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์และเขียนแผนธุรกิจเพื่อสังคม
1.5 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เพื่อด าเนินงาน เพื่อสังคมได้อย่างเหมาะสม
2.1 เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
2.2 เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้ได้เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
2.3 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่ทันสมัย และ สามารถนำความรู้ ไปบูรณาการในงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 เพื่อปรับปรุงกิจกรรม และงานที่ ได้รับมอบหมายให้สามารถพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ การเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21 (ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะ สารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ) 2.5 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงความส าคัญในการ ประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม
แนวคิดพื้นฐาน รูปแบบ วิธีการด าเนินธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม หารประยุกต์หลักการบริหารธุรกิจที่นำไปใช้ในกิจการเพื่อสังคม การวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค โดยเน้น การใช้นวัตกรรม ในการแก้ไขปัญหา เพื่ อสร้างความยั่ งยืนของกิจการเพื่อ สังคม  ฝึกวิเคราะห์และเขียนแผนธุรกิจของกิจการเพื่อสังคม รวมถึงการศึกษากรณีศึกษาจากกิจการเพื่อสังคม ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา ดังนี้
1) จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการตลาด  คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์  โทร. 084-9093490
2) e-mail: Nayty_2521@hotmail.com หรือ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม (Facebook) เฉพาะกลุ่มของระดับชั้นสาขาวิชาการตลาด ได้ทุกวัน
-มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
-มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
-มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 
 
-สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 
-ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาการส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
-การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาตลอดจนการแต่ง กายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
-การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 
 
-มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่ สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
-มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ  และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
-มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การการปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
-จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
-จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงานโครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมนำเสนอและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
-การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 
-ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
-ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
-สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
-สามารถคิดค้นทางเลือก  วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ
-คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล  สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
-สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
-กรณีศึกษาทางการจัดการโครงงานงานวิจัยและกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม
-การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียนและมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
-ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
-ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้าโครงงานโดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
 
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
-มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ  ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน  ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
-สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
-จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
-พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
-สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
-สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
- สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ  โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่ างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค
-สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่ องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆจากกรณีศึกษา
-มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล  และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6
1 BBABA225 ธุรกิจเพื่อสังคม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - - การจัดทำโครงงาน และการนำเสนอ - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย 1-8, 10-16 40%
2 - - สังเกตการณ์เข้าชั้นเรียน - สังเกตการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - สังเกตการณ์แสดงความคิดเห็น 1-8, 10-16 20%
3 - -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค 8,16 20% 20%
-จิตรา ปั้นรูป. 2560. ธุรกิจเพื่อสังคม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
-  คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ
-  กิจการเพื่อแก้ปัญหาสังคม WWW.tseo.or.th
-  SE Catalog รวมกิจการเพื่อสังคมในไทย. สำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ
-โครงการดอยน้ าซับ (ม.ป.ป.). ธุรกิจเพื่อสังคม หรือ Social enterprise (SE). สืบค้นเมื่อ 22  มีนาคม 2561, จาก http://doinumsub.com
-ไทยรัฐ (2๕๖๐). “แตกต่างเหมือนกัน” ทำความรู้จักหลากโมเดลธุรกิจเพื่อสังคม. สืบค้นเมื่อ 22  มีนาคม 2561, จาก https://www.thairath.co.th/content/1083580
-วิชาการ.คอม (2559). ความแตกต่างของ CSR กับ Social Enterprise. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม  2561, จาก http://www.vcharkarn.com/vcafe/230860 
-สถาบันไทยพัฒน์   (ม.ป.ป) .  รูปแบบกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม.  สืบค้นเมื่ อ 22 มีนาคม 2561, จาก http://thaicsr.blogspot.com
-CSR.com (ม.ป.ป). CSR คือ ?. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม, 2561, จาก http://www.csrcom.com 
-IM2 Market (255๙). CSR คือ ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร?.  สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม,  2561, จาก https://www.im2market.com/2016/08/02/3452
-MarkettingOops! (๒๕๕๙). มาเรียนรู้โมเดลธุรกิจ ‘Social Enterprise’ ธุรกิจสร้างสุขที่ประสบ ความส าเร็จในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2561, จาก https://www.marketingoops.com/exclusive/business-case/social-enterprisesingha-park/
-Plearn เพลิน (ม.ป.ป). การท าธุรกิจเพื่อสังคมมีกี่ประเภท และสร้างรายได้อย่างไรให้ยั่งยืน.  สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม, 2561, จาก https://www.krungsri.com/bank/th/plearnPlearn/how-many-business-for-society.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ