ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Thai for Communication

 
๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
๑. มีความรู้และความเข้าใจกระบวนการสื่อสาร
๒. มีความรู้และความเข้าใจภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
๓. สามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
๕. สามารถนำภาษาที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
 
๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
๑. พัฒนาพื้นฐานการใช้ภาษาในการสื่อสารของนักศึกษา
๒. พัฒนาทักษะการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
๓. มุ่งเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร อย่างมีคุณธรรมจริยธรรม
๑. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาไทย ได้แก่ ความสำคัญ ประเภท ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ศึกษาหลัก และกระบวนการสื่อสาร ศิลปะการสื่อสาร ทั้งทักษะการฟัง การอ่าน การเขียน และการพูด คุณธรรมจริยธรรมในการสื่อสาร
 
๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
 
 
๑.๑ ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
๒) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
๓) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
๔) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
๑.๒ วิธีการสอน
๑) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
๒) อภิปรายกลุ่ม
๓) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
๔) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
๑.๓ วิธีการประเมินผล
๑) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
เวลา
๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๓) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
๒.๑ ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
๒) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชาที่ศึกษา
๓) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๒.๒ วิธีการสอน
๑) บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
๒) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
๓) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำผลงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๒.๓ วิธีการประเมินผล
๑) สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
๒) ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และผลงานที่มอบหมาย
๓) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
๔) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
๓.๑ ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
๒) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
๓.๒ วิธีการสอน
๑) บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
๒) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
๓.๓ วิธีการประเมินผล
๑) สอบย่อย โดยข้อสอบเน้นการใช้ทักษะทางภาษา
๒) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
๔.๑ ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
๒) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
๓) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
๔) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
๔.๒ วิธีการสอน
๑) มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
๒) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๔.๓ วิธีการประเมินผล
๑) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
๒) รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๓) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
๕.๑ ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
๒) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม
๓) สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๕.๒ วิธีการสอน
๑) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
๒) นำเสนอผลงาน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
๕.๓ วิธีการประเมินผล
๑) การจัดทำผลงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
๒) การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ผลการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะ หรือมีความสามารถ ดังนี้
๑) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
๒) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
๓) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
๔) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
วิธีการสอน
๑) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
๒) อภิปรายกลุ่ม
๓) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
๔) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
วิธีการประเมินผล
๑) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
เวลา
๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๓) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ สอบกลางภาค การทดสอบย่อยครั้งที่ ๒ สอบปลายภาค ๑๕ % ๒๐ % ๑๕ % ๒๐ %
2 ตลอดภาค การศึกษา ตลอดภาค การศึกษา ๒๐ %
3 จิตพิสัย ตลอดภาค การศึกษา ๑๐ %
บุญโนทก และคณะ. 2551. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพ ฯ: มหาวิทยาลัย
          ราชภัฏสวนดุสิต.
บุญโนทก และคณะ. 2551. แบบฝึกหัดวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพ ฯ:
          มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
เคลือบพณิชกุล. 2542. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
กัลยา จงประดิษฐ์นันท์. 2543. ศิลปะการพูดต่อที่ชุมชน. กรุงเทพฯ: ยูบอส คอร์เปอเรชั่น.
กัลยา ยวนมาลัย. 2539. การอ่านเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
กุณฑลีย์ ไวทยะวนิช. 2545. หลักการพูด. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
กุลวดี พุทธมงคล. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย. นครราชสีมา : อนิรุตติ์การพิมพ์.
คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. 2549. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. 2546. การใช้ภาษาไทย ๒. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คาร์เนกี้ เดล . 2537. การพูดในที่ชุมชน. แปลโดย อาษา ขอจิตต์เมตต์. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : อาษา.
จิตรจำนงค์ สุภาพ. 2530. การพูดระบบการทูต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุทธิสารการพิมพ์.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. 2548. ภาษากับการสื่อสาร.กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เพรส.
จุฬาลงกรณ์, มหาวิทยาลัย. 2545. การค้นคว้าและการเขียนรายงาน. พิมพ์ครั้งที่ 5.แก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
___________. 2546. คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ญานิศา โชติชื่น. 2549. การพูดเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ : โครงการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
__________. 2550. การเขียนภาคนิพนธ์และสารนิพนธ์. กรุงเทพฯ : โครงการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ฐิติรัตน์ ลดาวัลย์. 2539. การใช้ภาษาไทย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฎพงศ์ เกศมาริษ. 2548. เทคนิคการนำเสนออย่างมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ดวงใจ ไทยอุบุญ. 2549. ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถนอมวงศ์ ล้ำยอดมรรคผล. 2544. ตำราการอ่านให้เก่ง. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: กระดาษสา.
ถาวร โชติชื่น. 2548. ทอล์คโชว์อันซีน. “ช็อตเด็ดเกร็ดการพูด”. กรุงเทพฯ: พี.วาทิน พับบลิเคชั่นจำกัด.
ธงไชย พรหมปก. 2540. การอ่าน. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
ธนรัชฎ์ ศิริสวัสดิ์ และนภาลัย สุวรรณธาดา. 2539. การอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาไทย หน่วย 6 -10.
           พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี:ชวนพิมพ์.
ธิดา โมสิกรัตน์ และนภาลัย สุวรรณธาดา. 2543. การอ่าน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 1 หน่วย 9-15.
          พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธิดา โมสิกรัตน์, ปรียา หิรัญประดิษฐ์ และอลิสา วานิชดี. 2543. การอ่านวรรณกรรมร่วมสมัย.ใน เอกสารการสอนชุด
           วิชาการอ่านภาษาไทย หน่วย 8 -15. พิมพ์ครั้งที่ 7.นนทบุรี: ประชาชน.
นงลักษณ์ สุทธิวัฒนาพันธ์. 2546. กลยุทธ์การพูดให้ประสบความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : สนุกอ่านจำกัด.
นพดล จันทร์เพ็ญ. 2539. การใช้ภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่.
นภารัตน์ สุวรรณธาดา และคณะ. 2548. การเขียนผลงานทางวิชาการและบทความ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นรินทร์ องค์อินทร์. 2549. วาทะชนะใจคน. แปลและเรียบเรียงจาก Give Your Speech,Change the world ,
          ผู้เขียน : Nick Morgan. กรุงเทพฯ: มิตรภาพการพิมพ์ และสติวดิโอ จำกัด.
บุญยงค์ เกศเทศ. 2548. วิถีคิด วิธีเขียน. กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์.
(นามแฝง). 2546. คู่มือสู้ชีวิตด้วยตนเอง ชุดที่ 2 เริ่มต้นใหม่...ในวันพรุ่ง.นนทบุรี: 108 สุดยอดไอเดีย.
เปลื้อง ณ นคร. 2542. ศิลปะแห่งการอ่าน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
พรหมวชิรญาณ, พระ. 2549. พุทธศาสนพิธี. กรุงเทพฯ: วัดยานนาวา.
บัวเพียร. 2536. วาทวิทยา : กลยุทธ์การพูดอย่างมีประสิทธิผล...ในทุกโอกาส.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อะเบลส.
__________. 2538. วาทวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สยามเตชั่นเนอรี่ซัพพลายส์.
พัฒจิรา จันทร์ดำ. 2547. การอ่านและวิจารณ์เรื่องสั้น. กรุงเทพฯ: เยลโล่การพิมพ์.
ภาควิชาภาษาไทย. 2544. การใช้ภาษาไทย. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภาควิชาภาษาไทย. 2543. การอ่านเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ภาควิชาภาษาไทย. 2540. ภาษากับการสื่อสาร. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตสนามจันทร์.
มัลลิกา คณานุรักษ์. 2545. เทคนิคการเป็นพิธีกรที่ดี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
รังสิต, มหาวิทยาลัย. คณะศิลปศาสตร์, ภาควิชาภาษาไทย. 2543. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : แม็ค.
__________. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์
          พับลิเคชั่นส์.
__________. ภาษาไทย หน่วย 8 -15. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วรมน เหรียญสุวรรณและคณะ. 2550. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและสืบค้น. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. 2545. ณ ที่ดวงตะวันฉายแสง ข้าจะไม่สู้รบอีกต่อไป. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หัวหอม.
วีนา สงวนพงษ์. 2549. การเขียนรายงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช.
แววมยุรา เหมือนนิล. 2538. การอ่านจับใจความ. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์.
ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์. 2544. การอ่านและการสร้างนิสัยรักการอ่าน. กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช.
ลิมตระการ. 2534. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาไทย หน่วย 1 - 7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมจิต ชิวปรีชา. 2548. วาทวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชาติ กิจยรรยง. 2548. ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.
สมบัติ จำปาเงิน และสำเนียง มณีกาญจน์. 2548. กลเม็ดการอ่านให้เก่ง. พิมพ์ครั้งที่ 3 .
          กรุงเทพฯ: ผ่องพัฒน์การพิมพ์.
สมบัติ พรหมเสน. 2545. การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์. พิษณุโลก: สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม.
สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. 2534. การอ่านทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สมิต สัชฌุกร. 2547. การพูดต่อชุมนุมชน. กรุงเทพฯ: สาธาร.
สุพรรณี วราทร. 2545. การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำเนียง มณีกาญจน์ และสมบัติ จำปาเงิน. 2542. หลักนักพูด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : บริษัทเยลโล่การพิมพ์.
อวยพร พานิช และคณะ. 2548. ภาษาและหลักการเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อำไพวรรณ ทัพเป็นไทย. 2549. การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อุดม พรประเสริฐ และคณะ. 2549. การสื่อสารด้วยภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
กิติวัฒนา (ไชยันต์) ปกมนตรี, ม.ร.ว. 2551. ก่อนเสด็จ...ลับเลือนหาย. พิมพ์ครั้งที่ 14.
          กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี.
งามพรรณ เวชชาชีวะ. 2549. ความสุขของกะทิ. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์
          พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
จิตรา ก่อนันทเกียรติ. 2539. ตึ่งหนั่งเกี้ย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
          พับลิชชิ่ง .
เพชรางกูร. 2548. พจนานุแนว. กรุงเทพฯ: ไฟน์ ไรท์.
เจริญเกียรติ ธนะสุขถาวร. 2546. เติมกำลังใจให้พลังชีวิต. กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
ฉอ้อน วุฒิกรรมรักษา. 2536. หลักการรายงานข่าว : Basic News Reportion. กรุงเทพฯ : ประกายพรึก.
ฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์. 2538. MC 231 การพูดในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
__________. 2532. การพูดสำหรับผู้นำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
ชุติปัญโญ (นามแฝง). 2546. ชีวิตที่เหนื่อยนัก...พักเสียบ้างดีไหม?. กรุงเทพฯ: ใยไหม.
__________. 2551. ความสุขความสำเร็จด้วย 21 เคล็ดไม่ลับ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ.
ถาวร โชติชื่น และเสน่ห์ ศรีสุวรรณ. 2533. ทีเด็ดเกร็ดการพูด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บุ๊คแบงก์.
__________. 2541. ผงชูรสการพูด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บุ๊คแบงก์.
แถมสิน รัตนพันธุ์. 2549. ใกล้เบื้องพระยุคลบาท กับ ‘ลัดดาซุบซิบ’. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.
ธีรภาพ โลหิตกุล. 2544. กว่าจะเป็นสารคดี ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
มาซารุ เอโมโตะ. 2547. มหัศจรรย์แห่งน้ำ คำตอบเพื่อชีวิตที่ดีกว่า. แปลโดย ดาดา.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โลกสวย.
ว. วชิรเมธี. 2550. คนสำราญ งานสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง
         แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ และอัญชลีพร กุสุมภ์. 2550. โลกร้อน ธรรมเย็น. กรุงเทพฯ: บ้านพระอาทิตย์.
__________. 2551. โลกเย็น เมื่อเห็นธรรม. กรุงเทพฯ: บ้านพระอาทิตย์.
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบ
ต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
๑) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
๒) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
๓) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
๓. การปรับปรุงการสอน
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ข้อ ๔) กลุ่มอาจารย์ผู้สอนทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอน แล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ