กฏหมายอุตสาหกรรมและแรงงาน

Industrial and Labor Legislation

    1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงานต่าง ๆ อาทิเช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยสัญญาจ้างแรงงาน  กฎหมายแรงงานสัมพันธ์  กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีแรงงาน กฎหมายประกันสังคม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พระราชบัญญัติโรงงาน และกฎหมายอื่นๆที่รัฐบัญญัติขึ้นตามความจำเป็น
        2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการประยุกต์ใช้กฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงาน ต่างๆ เหล่านั้น       
        3. เพื่อให้นักศึกษาเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของสังคม
         เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายด้านแรงงาน กฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงานต่าง ๆ ที่รัฐบัญญัติขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านแรงงานในปัจจุบันที่ เปลี่ยนแปลงตามสภาวะเศรษฐกิจ
        
ศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงาน อาทิเช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีแรงงาน กฎหมายประกันสังคม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พระราชบัญญัติโรงงานและกฎหมายอื่นๆที่รัฐบัญญัติขึ้นตามความจำเป็น
 -  อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาผ่าน E-mail Address ของอาจารย์ผู้สอน
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา กรณีนักศึกษาต้องการคำปรึกษาหรือคำแนะนำ ได้ในห้องพักของ
อาจารย์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
-  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องทำงาน 
-  โทรนัดหมายล่วงหน้า
1.1.1  มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.1.2 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.1.3  มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆของสังคม
2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา สอดแทรกประเด็นทางจริยธรรมแรงงานที่เกี่ยวข้อง

                1.2.2 กำหนดงานกลุ่ม เน้นการมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
                1..2.3  ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องความมีวินัย  ตรงต่อเวลา
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3   ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลจากพฤติกรรมการเรียน และ การสอบ
       2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจในสาระสำคัญ เกี่ยวกับกฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงาน อาทิเช่นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์  กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีแรงงาน กฎหมายประกันสังคม พระราชบัญญัติเงินทดแทน พระราชบัญญัติโรงงาน และกฎหมายอื่นๆที่รัฐบัญญัติขึ้นตามความจำเป็น
      2.1.2 มีความรู้และเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการแก้ไข เปลี่ยนแปลงกฎหมายอุตสาหกรรมและแรงงานที่เปลี่ยนแปลงตามสภาวะเศรษฐกิจ
บรรยาย  อภิปรายกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง มีการนำเสนอ การศึกษาโดยสร้างสถานการณ์สมมุติให้นักศึกษาแก้ปัญหา เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์ซึ่งให้นักศึกษานำไปวิเคราะห์
สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม

                           2.สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆรวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
   3.2.1   บรรยาย ให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา 
   3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
   3.2.3   มอบหมายงานและนำเสนอผลงาน โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสม
 3.3.1   สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม และ การแก้ไขปัญหา
 3.3.2   วัดผลจากการงานที่ได้รับมอบหมาย
 3.3.3   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบด้านความรู้และทักษะด้านปัญญา
4.1.1   มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษย์สัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
 4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำและหรือผู้ตามที่มีความรับผิดชอบ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มหรือเดี่ยวในการวิเคราะห์กรณีศึกษาโดยสอดแทรกความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วม
 4.2.2   มอบหมายงานกลุ่ม โดยให้ค้นคว้าข้อมูลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และนัดหมายตรวจสอบงานเป็นระยะตลอดภาคการศึกษา
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อนประเมิน จากการจัดกิจกรรมกลุ่มหรือเดี่ยวในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และ การมีส่วนร่วมในงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
4.3.2 สังเกตพฤติกรรม การแสดงออกและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่มหรือเดี่ยว
          5.1.1   สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
             5.1.2   สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.2.1   จัดการเรียนการสอนที่เน้นฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียนระหว่างผู้เรียนผู้สอน
5.2.2   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และรวบรวมสรุปตามความเข้าใจ
5.2.3   นัดหมายให้นำเสนอโดยการอธิบายและใช้อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมเป็นระยะในเวลาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา เข้าใจ สามามารถนำไปใช้ได้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ความเข้าใจ
1 10001402 กฏหมายอุตสาหกรรมและแรงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าใจ ทักษะสามารถนำไปแก้ไขปัญหาง่ายๆได้ 1.การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 2.งานกลุ่มที่มอบหมาย การส่งงานตามที่มอบหมาย 3.สอบกลางภาค สอบปลายภาค (เน้นทักษะความรู้ทางปัญญา) 9 และ 17 เก็บคะแนนย่อยตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค 30 คะแนน สอบปลายภาค 30 คะแนน ทดสอบย่อย(กลุ่ม) 30 คะแนน เข้าชั้นเรียน 10 คะแนน
ลลิตพรรณ จรรย์สืบศรี. รวมประมวลกฎหมายแรงงาน .เชียงใหม่ : โรงพิมพ์ชำนาญ, 2561
POWER POINT ประกอบคำอธิบาย ทางFACE BOOK กลุ่มผู้เรียนแรงงาน
เวปไซต์กระทรวงแรงงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  สนทนาผ่านทางสื่อเทคโนโลยี
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ความตั้งใจของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา         
          4.2  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ ตอบคำถามด้วยจากโจทย์ที่สมมุติ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาให้ทันสมัยกับการแก้ไขข้อกฎหมาย หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4