การออกแบบโครงการ

Site Design

รู้ความหมายและความสำคัญของการออกแบบโครงการ เข้าใจวิธีการใช้เครื่องมือในการออกแบบโครงการ คำนวณหาข้อมูลในงานออกแบบโครงการ มีทักษะในการออกแบบโครงการ เห็นความสำคัญในการออกแบบโครงการ
            ศึกษาศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบรายละเอียดโครงการภูมิทัศน์ในพื้นที่เฉพาะ การออกแบบ เส้นทาง และทางลาด ที่จอดรถ ผนังกันดิน รั้ว กระบะต้นไม้ อุปกรณ์ในสนามเด็กเล่น เฟอร์นิเจอร์งานภูมิทัศน์
ศึกษาศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบรายละเอียดโครงการภูมิทัศน์ในพื้นที่เฉพาะ การออกแบบ เส้นทาง และทางลาด ที่จอดรถ ผนังกันดิน รั้ว กระบะต้นไม้ อุปกรณ์ในสนามเด็กเล่น เฟอร์นิเจอร์งานภูมิทัศน์
ตามความต้องการของนักศึกษาเป็นกลุ่มและเฉพาะราย
ให้สัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

       1.1.2   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม) ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร)
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
       2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
             2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายเนื้อหาหลักตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน ศึกษาดูงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียน การอบรมให้ความรู้เฉพาะทางจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจาการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิขาการหรือวิชาชีพ
         3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
      4.1.1  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแกไขข้อขัดข้องได้อย่างเหมาะสม
      4.1.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ แประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ ปฏิบัติกลุ่ม บันทึกค่างานรังวัดระหว่างการปฎิบัติ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย

ทักษะการ ปฎิบัติ การคำนวณ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1
1 21042209 การออกแบบโครงการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อยครั้งที่ 1 การทดสอบย่อยครั้งที่ 1 3 5 %
2 การทดสอบย่อยครั้งที่ 2 การทดสอบย่อยครั้งที่ 2 6 5 %
3 การทดสอบย่อยครั้งที่ 3 การทดสอบย่อยครั้งที่ 3 10 5 %
4 การทดสอบย่อยครั้งที่ 4 การทดสอบย่อยครั้งที่ 4 13 5 %
5 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 8 10 %
6 สอบปลายภาค สอบปลายภาค 17 20 %
7 การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย/การประเมินผลการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย/การประเมินผลการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
8 การเรียน/ความประพฤติในและนอกชั้นเรียน การเรียน/ความประพฤติในและนอกชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
ทักษิณ เทพชาตรี 
                     วินิต ช่อวิเชียร
หนังสือบ้านและสวน
 http://www.thaiengineering.com/              http://www.civil club.net/
            http://www.eit.or.th/events.php?siteid=0&option=events&sid=10&lang=th
            http://www.tumcivil.com/tips/ebook/eBook-5563602Structure2.htm
            การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เขียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนโดยนักศึกษาและแบบประเมินรายวิชา

ขอเสนอแนะผ่านสื่อสารสนเทศ
จำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบ และการสังเกตพฤติกรรม คำถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้งห้าด้าน

แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทำการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษา โดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน และผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆต่อไปนี้

ผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน ผลประเมินการสอน และแบบสอบถามความสนใจในชั้นเรียน ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ (Current issue & selected topics)

การวิจัยชั้นเรียน ในประเด็นต่าง ๆ ทั้งในรายวิชานี้ และรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน (วิชาชีพบังคับอื่น ๆ และวิชาชีพเลือก) อาทิ ศิลปในการถ่ายทอดความรู้สื่อการสอน การนำความรู้ไปใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ฯลฯ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอน ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพท์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่า ผลประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผลประเมินการสอนนั้นน่าเชื่อถือ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ดำเนินการทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนรายวิชาเช่น

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกตพฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา (Cross & Link check) ผู้ร่วมสอนและร่วมรับผิดชอบรายวิชามีส่วนในการประเมินย่อยเช่น การออกข้อสอบร่วม และร่วมประเมินผลการเรียน มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมเป็นต้น
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอน ดำเนินการทุกปีการศึกษา อาศัย กระบวนการใน มคอ.1 มคอ.2 และมคอ.3 โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ 1) ผลประเมินการสอน(ข้อ 2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ 3) และการทวนสอบมาตรฐานผลสำฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา (ข้อ 4)

การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตร คณะ และระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพ ฯ