โภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีก

Poultry Nutrition and Feeding

                      1. รู้กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารของสัตว์ปีก
              2. เข้าใจการย่อย การดูดซึม และเมตาบอลิสมของโภชนะแต่ละชนิดในร่างกายสัตว์ปีก
              3. เข้าใจความต้องการโภชนะชนิดต่าง ๆ ของสัตว์ปีกแต่ละชนิด
              4. เข้าใจการประกอบสูตรอาหาร และการให้อาหารสัตว์ปีกแต่ละชนิดและแต่ละระยะ
              5. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพนักโภชนะศาสตร์สัตว์และนักวิชาการอาหารสัตว์
           เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ปีกในปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบการผลิตสัตว์ปีกในทางการค้าซึ่งมีการนำเทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการมากขึ้น และเพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
             ศึกษากายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารของสัตว์ปีก การย่อย การดูดซึม และเมตาบอลิสมของโภชนะแต่ละชนิด ความต้องการโภชนะชนิดต่าง ๆ ของสัตว์ปีก การประกอบสูตรอาหาร และการให้อาหารสัตว์ปีกแต่ละชนิดและแต่ละระยะ
จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบภายหลัง
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
         -ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
         - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา  ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 
          - เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของโภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีกที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของโภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีกอย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯและคณะจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา การเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโสและอาจารย์  โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่มโดยมีรายละเอียดประเมินดังนี้
1. การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียนว่ามีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม  มีการคัดลอกรายงานของนักศึกษาผู้อื่นหรือไม่
4. บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ  Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้ง การสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องเกี่ยวกับเกี่ยวกับโภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีก ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อ หรือบทเรียน
  ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2   ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
      ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน     
      การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับอาหารและการให้อาหารสัตว์ปีก
นักศึกษาต้องคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
   -การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ และให้นักศึกษาภายในกลุ่มระดมสมองนำเสนอข้อคิดเห็นเป็นรายกลุ่ม รวมทั้งการถามนักศึกษาเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งให้แสดงความคิดเห็นตามที่นักศึกษาเข้าใจ
-สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดภายในกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา หรือเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
  ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน  การสอบย่อย (Quiz)  การสอบกลางภาคและปลายภาค  การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคล และกลุ่ม
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอ
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่เป็นประเด็นด้านความก้าวหน้าทางโภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีกและงานวิจัยใหม่ๆ มอบหมายงาน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม  ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
     5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
     5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
-การมอบหมายงานด้วยการให้สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมแล้วจัดทำรายงาน
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การประเมินผลงานรายบุคคล (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
นักศึกษาต้องมีทักษะทางวิชาชีพคือมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพสามารถแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาเกษตรทั่วไปให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและทักษะการปฏิบัติของนักศึกษาดังนี้
1. ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม และจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะเชิงวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23025408 โภชนาศาสตร์และการให้อาหารสัตว์ปีก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.3 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-17 5%
2 1.1.2, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.4, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) 1-8 และ 10-16 10%
3 3.1.1, 3.1.2,4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 1-17 5%
4 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ข้อสอบ 1-17 60%
5 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน 1-8 และ 10-16 10%
6 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร / การส่งงาน 1-16 5%
7 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1-16 5%
ธาดา  สืบหลินวงศ์ และ นวลทิพย์  กมลวารินทร์. 2537. ชีวเคมีทางการแพทย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
                มหาวิทยาลัย. 224 น.
ธีระยุทย์   กลิ่นสุคนธ์. 2541. การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในเชิงสรีรวิทยา. หน้า 371-457. ใน. เอกสารการสอนชุด
                วิชาโภชนศาสตร์สาธารณสุข. หน่วยที่6. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นิธิยา  รัตนาปนนท์. 2545. เคมีอาหาร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 487น. บุญล้อม  ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6. ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. 170 น.
. _________________  .2546. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. 202  น.
ปิยา   บุรณศิริ. 2525. การย่อยและการดูดซึมอาหาร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 262 น.
พันทิพา   พงษ์เพียจันทร์. 2543. หลักการอาหารสัตว์ เล่ม 1. โภชนะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ .            กรุงเทพฯ. 207 น.
อุทัย  คันโธ. 2529. อาหารและการผลิตอาหารเลี้ยงสุกรและสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวบาล. คณะเกษตร. หาวิทยาลัย 
                 เกษตรศาสตร์. วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม. 297  น.
Cheeke, P.R. 1999. Applied Animal Nutrition: Feeds and Feeding. Prentice Hall, New Jersey. 525 p. Church, D.C. and  W.G  Pond. 1988. Basic  Animal  Nutrition  and  Feeding. 3rd ed. John  Wiley  and  Sons, Inc, New                 York. 472 p. Ensminger, M.E. 2002. Sheep  and  Goat  Science (Animal  agriculture  Series). 6th ed. Interstate  Publishers,Publishers,   
                 Inc, Danville, Illinois. 693  p.Ensminger, M.E., J.E. Oldfield  and  W.W.  Heinemann. 1990. Feeds  and  Nutrition. 6th ed. The  Ensminger  Publishing  Company, California. 1544  p.Gropper, S.S., J.L. 
Smith  and  J.L. Groff. 2000. Advanced Nutrition and Human Metabolism.3rd ed.  Wadsworth, a  division  of  Thomson  Learning, Inc.  Belmont.  600  p.
Jurgens, H.M. 1993. Animal Feeding and Nutrition. 7thed. Kendall/Hunt Publishing Company, Iowa. 580 p.
McDonald, P., R.A. Edwards.,J.F.D.Greenhalgh  and C.A.Morgan. 2002. Animal  Nutrition. 6thed. As hford  Colour   
                Press  Ltd,Gosport, London. 693 p.
McDowell, L.R. 1989. Vitamins in Animal Nutrition :  Comparative Aspects to Human Nutrition. Academic Press,Inc.,   California. 486 p. NRC (National  Research  Council). 1974. Nutrients  and  Toxic  Substances  in  Water  for Lievestock  and   Poultry.   National  Academy  Press, Washington, D.C. 93  p.
.                                         . 1994. Nutrients  Requirements  of  Poultry. 9th ed. National  Academy   
                Press, Washington, D.C. 155 p.
Pond, W.G., D.C. Church  and  K.R.  Pond. 1995. Basic  Animal  Nutrition  and  Feeding. 4th ed. John  Wiley and  Sons, Inc, New  York. 615 p.
 
Pond, W.G., D.C. Church  and  K.R.  Pond. 1995. Basic  Animal  Nutrition  and  Feeding. 4th ed. John  Wiley and  Sons, Inc, New  York. 615 p.  
บุญล้อม  ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6. ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. 170 น.
. _________________  .2546. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่. 202  น.
วารสารสัตว์ปีก                                                                                                  
วารสารเกษตรศาสตร์                                                                                                                                          
วารสารpoultry international                                                                                                                                                     
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
     2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
 อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
         5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ7.4
        5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ