นวัตกรรมอาหาร

Food Innovation

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้บทบาทและแนวคิดของนวัตกรรมอาหาร วิวัฒนาการนวัตกรรม กรณีศึกษานวัตกรรมในงานอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
1.2  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจ กลยุทธ์ในการสร้างนวัตกรรมอาหาร
1.3  เพื่อให้นักศึกษามีแนวคิดในการสร้างนวัตกรรม
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมอาหารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
บทบาทและแนวคิดของนวัตกรรมอาหาร วิวัฒนาการนวัตกรรม กลยุทธ์ในการสร้างนวัตกรรมอาหาร วิธีการสร้างนวัตกรรม กรณีศึกษานวัตกรรมในงานอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
3.1 วันศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. ห้องพักอาจารย์  โทร …0918586269..
 3.2  e-mail : …tukkatafay@gmail.com หรือ id line : tukkatafay..
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.5  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการนวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร  เช่น ความชื่อสัตย์ในการรายงานผลการวิจัยพัฒนานวัตกรรมอาหาร โดยการคำนึงถึงความปลอดภัย ต่อผู้บริโภคและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
2. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดกรณีศึกษาในพื้นที่จริง
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้ความเข้าใจบทบาทและแนวคิดของนวัตกรรมอาหาร วิวัฒนาการนวัตกรรม กลยุทธ์ในการสร้างนวัตกรรมอาหาร วิธีการสร้างนวัตกรรม กรณีศึกษานวัตกรรมในงานอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
บรรยายเกี่ยวกับบทบาทและแนวคิดของนวัตกรรมอาหาร วิวัฒนาการนวัตกรรม กลยุทธ์ในการสร้างนวัตกรรมอาหาร วิธีการสร้างนวัตกรรม กรณีศึกษานวัตกรรมในงานอุตสาหกรรมอาหาร กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 
3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการพัฒนานวัตกรรมอาหาร
1. การมอบให้นักศึกษาทำการศึกษาตามบทปฏิบัติการที่ให้และการนำเสนอผลงาน
2. อภิปรายนำเสนอผลงานการปฏิบัติการ
3. วิเคราะห์กรณีศึกษาความต้องการของผู้บริโภคและแนวโน้มของตลาดด้านนวัตกรรมอาหาร
4   การสะท้อนแนวคิดจากการพัฒนานวัตกรรมอาหาร
1. สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมอาหาร
2. วัดผลจากการประเมินผลการปฏิบัติการและ  การนำเสนอผลงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
˜4.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
š4.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
š4.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายครบถ้วนตามเวลา
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการปฏิบัติการตามหน่วยทดลอง
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
š5.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
˜5.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
š5.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลการพัฒนานวัตกรรมอาหาร
š5.4    พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
š5.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนานวัตกรรมอาหาร
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 สามารถบริหารจัดการด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
6.2 สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
6.3 มีทักษะการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ให้นักศึกษาจัดแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจโดยอาจารย์ผู้สอนกำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่ม
ประเมินผลจากผลงานที่นักศึกษาจะต้องส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะและการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3
1 24134303 นวัตกรรมอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบย่อย (หน่วยที่ 1, 2) สอบกลางภาค (หน่วยที่ 3, 4) สอบย่อย (หน่วยที่ 5-6) สอบปลายภาค (หน่วยที่ 7-9) 3,9,13,17 45%
2 1.2, 1.4, 3.1, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5 - การทำงานกลุ่มและรายบุคคล - การส่งรายงานบทปฏิบัติการ - การนำเสนองานและส่งรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมอาหาร - ผลงานนวัตกรรมอาหาร ตลอดภาคการศึกษา และสัปดาห์ที่ 17 45%
3 1.1, 1.3, 1.5 จิตพิสัยในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. Earle,  M. D., and Anderson, A. M.  1985.  Product and Process Development in Food Industry.  Harward Academic Publishers, New York.
2. Graf, E. and Saguy, I. S.  1991.  Food Product Development: From Concept to the Market Place.  AVI Book, New York.
3. Lyon, D.H., Francombe, M. A., Hasdell, T. A. and Lawson, K.  1992.  Guideline for Sensory Analysis in Food Product Development and Quality Control.  Chapman and Hill, London.
4. Meilgaard, M., Civille, G. V. and Carr, B. T.  1999.  Sensory Evaluation Techniques.  3 Ed. CRC Press, Boca Raton, FL.3 Ed. John Wiley & Sons, New York.
5. Nontomery, D. C.  1991.  Design and Analysis of Experiments.  3 Ed.  John Wiley & Sons.  New York.
6. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ.  2546.  การบริหารการตลาดยุคใหม่.  กรุงเทพฯ:  บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
7. คณาจารย์ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์.  2549.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร.  กรุงเทพฯ:  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
8. ศุภชัย  หล่อโลหการ  ภคพงศ์  พรมนุชาธิป และ ปัทมาวดี  พัวพรหมยอด.  2553.  การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร (ฉบับปรับปรุงใหม่).  พิมพ์ครั้งที่ 3.   สำนักงานนวัตกรรม
  แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,  กรุงเทพฯ.  478 น.
9.  สำนักงานคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนานวัตกรรม.   2545.  นวัตกรรมในอุตสาหกรรมอาหาร.   สำนักงานคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนานวัตกรรม  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,  กรุงเทพฯ.  51 น.
10.  อภิชาต  ศรีสะอาด.   2556.  รวมสุดยอดนวัตกรรมใหม่ สู่...AEC.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  นาคา           อินเตอร์มีเดีย, กรุงเทพฯ.  152 น.
วารสารอาหาร, Journal of Food Innovation, Journal of Food Technologyเวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารอาหาร, Journal of Food Innovation, Journal of Food Technologyเวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางนวัตกรรมอาหาร
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 3.4 การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางนวัตกรรมอาหารจากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
 3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
     4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
     4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
          5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ