ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์

Special Problems in Animal Science

นักศึกษาสามารถศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน
ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการผลิตสัตว์ทางการค้าภายใต้สภาวะการแข่งขันและการกีดกันทางการค้าของตลาดโลก ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาที่เกิดจากการผลิตสัตว์โดยอาศัยคามรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ และสรรค์สร้างนวัตกรรมใหม่ในการผลิตสัตว์
ศึกษาและค้นคว้าทดลองทางสัตวศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญ และเรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงาน
5 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
4. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
3. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
4. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น
2. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล
3. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
4. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
2. การสอนแบบ Brain Storming Group
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองาน ในรูปแบบเอกสาร และ
Power point
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1.ปฏิบัติการในห้องทดลอง
2.ปฏิบัติภาคสนาม
การนำเสนองาน ในรูปแบบเอกสาร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 23029499 ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 70%
2 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 นำเสนอรายงานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย ทุกสัปดาห์ 20%
3 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.3 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 10%
คู่มือการเขียนปัญหาพิเศษ
เอกสาร และข้อมูลสำคัญ ที่เกี่ยวกับหัวข้อที่นักศึกษาทำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อที่นักศึกษาทำ
-การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-ผลการให้คะแนนจากอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ วิธีการให้คะแนนเล่มรายงาน การนำเสนอสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
-ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4