หลักเคมี 1

Principles of Chemistry 1

   
 1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
  2. มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ หลักการในการเกิดพันธะเคมี สารละลาย  กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี  และสมดุลเคมี โครงสร้าง  สมบัติ  และประโยชน์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
 3. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีทักษะการแก้ปํญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
    4. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  5. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ  พันธะเคมี     สารละลาย  กรด เบส เกลือ  ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
 Study of atomic structure and periodic table, chemical bonding, acid, base, salt, and electrochemical reactions. Rates of chemical reactions and chemical equilibrium. Hydrocarbons and derivatives
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  ขยัน อดทน  ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย   ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกาย  การเข้าเรียนตรงต่อเวลา 
การเขียนงานและส่งงานที่มอบหมายได้ครบถ้วน ตรงต่อเวลา
ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
สอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย 
การให้โจทย์คำถามในการฝึกแก้ปัญหา 
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
การให้ใบงาน โจทย์ฝึกทักษะ เสริมสร้างความเข้าใจ การคิดแก้ปัญหา /การตอบปัญหารายหน่วยการเรียน
1.การสังเกต  การตอบข้อซักถาม  การอภิปรายในชั้นเรียน
2.การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.การประเมินจากการส่งแบบฝึกหัด โจทย์ฝึกทักษะเสริมสร้างความเข้าใจ การคิดแก้ปัญหา /การตอบปัญหารายหน่วยการเรียน
5. ข้อสอบรายหน่วย  สอบกลางภาค  สอบปลายภาค
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
 
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การให้โจทย์คำถามในการฝึกแก้ปัญหา  ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
การมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า  วิเคราะห์ข้อมูล
การให้ใบงาน โจทย์ฝึกทักษะ เสริมสร้างความเข้าใจ การคิดแก้ปัญหา /การตอบปัญหารายหน่วยการเรียน
1.การประเมินจากการส่งแบบฝึกหัด โจทย์ฝึกทักษะเสริมสร้างความเข้าใจ การคิดแก้ปัญหา /การตอบปัญหารายหน่วยการเรียน
2. ประเมินจากการนำเสนองานที่มอบหมายหรือกรณีศึกษา   กระบวนการทำ การคิดวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
-กิจกรรมกลุ่ม  การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  ความร่วมมือในการทำงาน  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
 
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การมอบหมายงานและกรณีศึกษา ให้ สืบค้นข้อมูล  จากสื่อ ด้วยเทคโนนโลยีสารสนเทศ
- ให้มีการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
จากการนำเสนองานงานที่ได้รับมอบหมาย มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
ประเมินการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) . ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 3 2
1 22021101 หลักเคมี 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 . มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2.1มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การตอบคำถามในชั้นเรียน การทำโจทย์แบบฝึกหัด การสอบรายหน่วย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ตรวจใบงานโจทย์แบบฝึกหัดหลังจบหน่วยการเรียน ทุกระยะ สอบกลางภาคเรียน สัปดาห์ที่8 สอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 17 50%
3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การตอบคำถาม การอภิปรายผล การทำโจทย์แบบฝึกเสริมทักษะ การทำแบบทดสอบ ตลอดภาคการศึกษา 20 %
4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ การนำเสนองานที่มอบหมาย การช่วยเหลือกันในการทำงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล การนำเสนอ รายงานผลจากงานที่มอบหมายหรือกรณีศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1) ประเสริฐ ศรีไพโรจน์ เคมีพื้นฐานเล่ม  1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
2) ลัดดา มีศุข เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ 2545.
1) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
2) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
3) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์ หลักเคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541
4) ประเสริฐ ศรีไพโรจน์ เคมีพื้นฐานเล่ม  1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
5) วิโรจน์ ปิยวัชรพันธุ์ เคมีทั่วไป 1, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541.
6) สุนันทา วิบูลย์จันทร์ เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์, เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,
กรุงเทพฯ 2545.
  7)รำไพ  สิริมนกุล.  เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ. 2546. 
  8)วารุณี  ยงสกุลโรจน์.    เคมีอินทรีย์ 2 .  พิมพ์ครั้งที่ 6.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  กรุงเทพฯ. 2547.
  9)สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.    เคมีอินทรีย์.  พิมพ์ครั้งที่ 9.  ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. .2548.
  10)สมพงษ์  จันทร์โพธิ์ศรี, เคมีอินทรีย์ 1, สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์, กรุงเทพ.2552,
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2  มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมอาจารย์ในแผนกเคมีเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอน     การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา กับอาจารย์ประจำแผนกวิชาเคมี เพื่อให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงใช้ในการสอนครั้งต่อไป