วัสดุวิศวกรรม

Engineering Materials

เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนพื้นฐานการผลิตวัสดุในงานวิศวกรรม การกำหนดมาตรฐาน สมบัติทางกลและสมบัติทางกายภาพของวัสดุ ขีดจำกัดในการนำไปใช้งานของวัสดุ ชนิดโลหะกลุ่มเหล็ก โลหะนอกกลุ่มเหล็ก โพลีเมอร์ เซรามิกส์ วัสดุคอมโพสิต แอลฟัลท์ ไม้ คอนกรีต และวัสดุในงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
2.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับชนิดและความสำคัญของวัสดุวิศวกรรม
2.2 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประเภทของวัสดุวิศวกรรม
2.3 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลและคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
2.4 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขีดจำกัดในการนำไปใช้
2.5 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับชนิดโลหะกลุ่มเหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก
2.6 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวัสดุในงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนพื้นฐานการผลิตวัสดุในงานวิศวกรรม การกำหนดมาตรฐาน สมบัติทางกลและสมบัติทางกายภาพของวัสดุ ขีดจำกัดในการนำไปใช้งานของวัสดุ ชนิดโลหะกลุ่มเหล็ก โลหะนอกกลุ่มเหล็ก โพลีเมอร์ เซรามิกส์ วัสดุคอมโพสิต แอลฟัลท์ ไม้ คอนกรีต และวัสดุในงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
ทุกวัน ระหว่าง 16.30 – 18.00 น. (ที่ห้องพักอาจารย์ ป.31)
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
       1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
     1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
1.พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ได้แก่ การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา เป็นต้น
2.พฤติกรรมการปฏิบัติตัวทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน ได้แก่ การมีสัมมาคารวะและนอบน้อม การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น
3.ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย “ได้แก่ รายงาน การบ้าน เป็นต้น
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
6. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม หรืองานวิเคราะห์เดี่ยว
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน และสังเกตพฤติกรรมความชัดเจนในการตอบข้อซักถาม
6.การฝึกตีความ หรือการตีโจทย์
7.การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบ
˜  3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 
1.สถานการณ์จำลอง
2.สมุดงาน และการบันทึก
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การฝึกตีความ
6.การทดสอบโดยใช้ข้อสอบ
7.การนำเสนอแนวคิด และข้อคิดเห็น
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. การยกตัวอย่างและภาพประกอบในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในการสอนหรือนำเสนองาน
3. มอบหมายงานหรือกิจกรรมพิเศษที่ให้ดำเนินการแบบระดมสมองเพื่อการแก้ไขปัญหา
4. การนำแนวทางหรือปัญหาจากการบริการวิชาการมาเป็นตัวอย่างเพื่อให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และหาแนวทางแก้ไขปัญหา
1. สังเกตพฤติกรรมในการปฏิสัมพันธ์ผู้อื่น และเพื่อนในห้องเรียน
2. สังเกตการให้ความร่วมมือ ความตั้งใจ และการเสนอความเห็นระหว่างการระดมสมอง
3. สังเกตความตั้งใจในการแสดงให้เห็นถึงการคิดพินิจและวิเคราะห์ของนักศึกษา และการขอแสดงความคิดเห็น
    5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
1. ปริมาณข้อมูลการนำเสนองานและแนวคิดในการแก้ไขปัญหา ได้แก่ โจทย์ปัญหาในห้องเรียน การบ้าน งานมอบหมาย เป็นต้น
2. จำนวนการสอบถามข้อสงสัยในข้อมูลที่มอบหมาย
3. ระดับคะแนนที่ได้จากการสอบ
4. ความสามารถในการแก้ไขปัญหา และตอบคำถาม
 6.1 ทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1. ให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และทำการฝึกซ้อม โดยให้นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก่ปัญหาให้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง
2. มีการควบคุมระยะเวลาในการฝึกลงมือปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
1. สังเกตพฤติกรรมการแนะนำเพื่อนระหว่างการปฏิบัติ
2. จับเวลาระหว่างการฝึกปฏิบัติ และทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3.ทักษะทางปัญญา 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
1 ENGCC303 วัสดุวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์ ทุกสัปดาห์ 5% 5%
2 2.1,2.3, 3.1 1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies) 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน 3. การสอนมีการสอดแทรกการลงฝึกปฏิบัติการจริงในบางหน่วย เพื่อให้เกิดความชัดเจน 4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา 5. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 7. การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบ ทุกสัปดาห์ 10% 5% 5% 5% 5% 5% 55%
   รศ.แม้น อมรสิทธิ์. “วัสดุวิศวกรรม Priciple of Materials Science and Engineering”
   - William F. Smith. “Foundation of Materials Science and Engineering”
   - William F. Smith. “Principle of Materials Science and Engineering”
   - Lawrence H. Van Vlack. “Elements of Materials Science and Engineering”
   - Lawrence H. Van Vlack. “Materials for Engineering Concepts and Applications”
   - Donald R. Askland. “The Science and Enginnering of Materials.”
   - Kenneth G. Budinski. “Engineering Materials Properties and Selection.”
   - William D. Callister Jr., John Willey & Sons. “Material Science and Engineering 3rd ed.”
Michael F Ashby and David R H Jones. .Engineering Materials 1”
Michael F Ashby, Hugh Sherdiff and David Cebon.“Materials Engineering  Science  Processing and Design”
“Materials+Data+Book”. Cambridge University Engineering Department.
George S” Brady, Henry R. Clauser and John A. Vaccari. “Materials Handbook”.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 แบบประเมินรายวิชา
2.1 สังเกตการสอนโดยกรรมการประจำหลักสูตร
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้ภายหลังสำเร็จการศึกษารายวิชานั้น
ภายหลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยอาจารย์ผู้ดูแลรับผิดชอบสรุปผลและนำเสนอให้คณะกรรมการประจำหลักสูตรประชุมพิจารณารับทราบ
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรอื่น ภายในหรือภายนอกคณะวิศวกรรมศาสตร์หรือกรรมการประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ พิษณุโลก
4.2 การสังเกตพฤติกรรมในระหว่างการศึกษาในมหาวิทยาลัยภายหลังสำเร็จการศึกษารายวิชานี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงรายละเอียดหรือเนื้อหาการเรียนการสอนเพื่อให้รองรับกับสภาพการณ์ และนำเสนออาจารย์ประจำรายวิชานั้นในการนำไปใช้จัดการเรียนการสอน