กรรมวิธีการผลิต
Manufacturing Processes
1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการพื้นฐานของกระบวนการผลิต
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำหลักการนั้นไปออกแบบและเลือกใช้กรรมวิธีการผลิต เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ตาม
ข้อกำหนดและคุณภาพที่ต้องการ
3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต้อวิชากรรมวิธีการผลิต
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำหลักการนั้นไปออกแบบและเลือกใช้กรรมวิธีการผลิต เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ตาม
ข้อกำหนดและคุณภาพที่ต้องการ
3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต้อวิชากรรมวิธีการผลิต
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตพื้นฐานในงานอุตสาหกรรม โดยปรับเน้นให้ผู้เรียนมี
การพัฒนาการเรียนรู้ดังนี้ คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
การพัฒนาการเรียนรู้ดังนี้ คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิตขั้นพี้นฐาน การหล่อโลหะ การเชื่อมโลหะ การตัดขึ้นรูปด้วยเครื่องมือกลโรงงาน การขึ้นรูปโลหะโดยการเปลี่ยนรูป การขึ้นรูปโพลิเมอร์ การขึ้นรูปเซรามิก การขึ้นรูปวัสดุคอมโพสิต การออกแบบและวิเครื่องมือในกระบวนการผลิต การผลิตแบบรวดเร็ว ระบบการควบคุมอัติโนมัติในการผลิต และระบบการผลิตสมัยใหม่
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะ
รายที่ต้องการ)
รายที่ต้องการ)
1 มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อสังคม
2 ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน
3 มีภาวะความเป็นผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
4 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในศักดิ์ศรี และคุณค่าของความเป็นมนุษย์
5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
2 ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน
3 มีภาวะความเป็นผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
4 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในศักดิ์ศรี และคุณค่าของความเป็นมนุษย์
5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
1 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียน
2 การแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและการปฏิบัติงานตามกฎความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน
3 มอบหมายงานให้ทำการค้นคว้านอกชั้นเรียนและจัดทำเป็นรูปเล่ม
2 การแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและการปฏิบัติงานตามกฎความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน
3 มอบหมายงานให้ทำการค้นคว้านอกชั้นเรียนและจัดทำเป็นรูปเล่ม
1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
2 ประเมินจากการแต่งกายและปฏิบัติงานของนักศึกษา
3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานตามที่มอบหมาย
2 ประเมินจากการแต่งกายและปฏิบัติงานของนักศึกษา
3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานตามที่มอบหมาย
1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในสาขาวิชา และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
3 สามารถประยุกต์ความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4 สามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงทางวิชาการทั้งศาสตร์ในสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ได้
2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
3 สามารถประยุกต์ความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
4 สามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงทางวิชาการทั้งศาสตร์ในสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ได้
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การสาธิต การลงมือปฏิบัติงาน การศึกษาดู
งาน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
งาน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือชุดฝึกปฏิบัติ
2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือชุดฝึกปฏิบัติ
1 มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีวิจารณญาณหรือดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
2 มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3 สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์
2 มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3 สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์
1 การมอบหมายให้นักศึกษาวางแผนการปฏิบัติงาน และการนำเสนอผลงาน
2 อาจารย์และนักศึกษาร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
2 อาจารย์และนักศึกษาร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
1 ประเมินจากการตอบปัญหา และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
2 ประเมินจากการสอบย่อยและการสอบข้อเขียน
2 ประเมินจากการสอบย่อยและการสอบข้อเขียน
1 มีความสามารถในการทำงานเป็นทีมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3 มีความสามารถในการปรับตัว ร่วมกิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
4 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3 มีความสามารถในการปรับตัว ร่วมกิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
4 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
1 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล และการนำเสนอรายงาน
2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล และการนำเสนอรายงาน
1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1 สามารถสื่อสารภาษาไทย ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การสรุปประเด็น และการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถเลือก และใช้รูปแบบการนำเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์
3 สามารถเลือก และประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติ หรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
2 สามารถเลือก และใช้รูปแบบการนำเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์
3 สามารถเลือก และประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติ หรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1 การคำนวณหาความเร็วรอบ ความเร็วตัด เวลาในการทำงานเจาะ งานกลึง งานกัด
2 มอบหมายงาน โดยให้ส่งงานทางอีเมล์ล
2 มอบหมายงาน โดยให้ส่งงานทางอีเมล์ล
1 ประเมินผลจากาการทำแบบทดสอบ
2 ประเมินจากการส่งงานทางอีเมล
2 ประเมินจากการส่งงานทางอีเมล
-
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | เนื้อหารายวิชาตามแผนการสอน สัปดาห์ที่ 1-3 เนื้อหารายวิชาตามแผนการสอน สัปดาห์ที่ 1-8 เนื้อหารายวิชาตามแผนการสอน สัปดาห์ที่ 10-12 เนื้อหารายวิชาตามแผนการสอน สัปดาห์ที่ 10-16 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค | 4 9 13 17 | 10% 20% 10% 25% |
2 | คลอบคลุมเนื้อหารายวิชาทั้งหมดตามแผนการสอน | วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | - | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นใน ชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
ชาตรี หลักทอง และคณะ . วัสดุวิศวกรรมเบื้องต้น. บริษัทแมคกรอฮิลอินเตอร์เนชั่นแนล
ทศพล สังข์อยุทธ์ . ทฤษฎีเครื่องมือกล 1.สระบุรี:โรงพิมพ์เจริญธรรม,2544.
ทศพล สังข์อยุทธ์ . ทฤษฎีเครื่องมือกล 2.สระบุรี:โรงพิมพ์เจริญธรรม,2544.
บรรเลง ศรนิลและสมนึก วัฒนศรียกุล. ตารางคู่มืองานโลหะ.ศูนย์ผลิตตำราสถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ.2549.
บุญศักดิ์ ใจจงกิจ . ทฤษฎีงานเครื่องมือกล.กรุงเทพฯ:มปท,มปป.
พิชิต เลี่ยมพิพัฒน์.พลาสติก.มปท. 2545.
ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์ . เนื้อดินเซรามิก . โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ : กรุงเทพ ฯ. 2541.
มณฑล ฉายอรุณ. วัสดุอุตสาหกรรม. โรงพิมพ์เจริญธรรม : กรุงเทพ ฯ. มปป.
มานพ ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. ประชาชน : กรุงเทพ ฯ. 2545.
วรวิทย์ จันทวรรณโณและคณะ. งานหล่อโลหะ.สกายบุ๊คส์ : กรุงเทพ. 2540.
ดร.วัสสนัย วรรธนัจฉริยา. เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการผลิต.คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548.
อำพล ซื่อตรงและอนงค์ ที่สงัด .วัสดุช่าง. มปท : กรุงเทพ ฯ. มปป.
ทศพล สังข์อยุทธ์ . ทฤษฎีเครื่องมือกล 1.สระบุรี:โรงพิมพ์เจริญธรรม,2544.
ทศพล สังข์อยุทธ์ . ทฤษฎีเครื่องมือกล 2.สระบุรี:โรงพิมพ์เจริญธรรม,2544.
บรรเลง ศรนิลและสมนึก วัฒนศรียกุล. ตารางคู่มืองานโลหะ.ศูนย์ผลิตตำราสถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ.2549.
บุญศักดิ์ ใจจงกิจ . ทฤษฎีงานเครื่องมือกล.กรุงเทพฯ:มปท,มปป.
พิชิต เลี่ยมพิพัฒน์.พลาสติก.มปท. 2545.
ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์ . เนื้อดินเซรามิก . โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ : กรุงเทพ ฯ. 2541.
มณฑล ฉายอรุณ. วัสดุอุตสาหกรรม. โรงพิมพ์เจริญธรรม : กรุงเทพ ฯ. มปป.
มานพ ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. ประชาชน : กรุงเทพ ฯ. 2545.
วรวิทย์ จันทวรรณโณและคณะ. งานหล่อโลหะ.สกายบุ๊คส์ : กรุงเทพ. 2540.
ดร.วัสสนัย วรรธนัจฉริยา. เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการผลิต.คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548.
อำพล ซื่อตรงและอนงค์ ที่สงัด .วัสดุช่าง. มปท : กรุงเทพ ฯ. มปป.
-
-
1. จำนวนหรือร้อยละ ของผู้เข้าเรียนในแต่ละครั้ง
2. การสนใจเรียน และการทำกิจกรรมของนักศึกษา
3. การประเมินผู้สอน และประเมินรายวิชา โดยใช้แบบประเมิน
2. การสนใจเรียน และการทำกิจกรรมของนักศึกษา
3. การประเมินผู้สอน และประเมินรายวิชา โดยใช้แบบประเมิน
1 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอน และผลการเรียนของนักศึกษา
2 การทดสอบความรู้ของผู้เรียน โดยเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
3 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินการสอน
2 การทดสอบความรู้ของผู้เรียน โดยเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
3 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินการสอน
1 ปรับปรุงการสอน โดยพิจารณาจากผลการประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนการสอน นอกจากนี้
2 หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อการปรับปรุงการสอน เช่น สำรวจความต้องการในกิจกรรมในการระดมสมอง พัฒนาวิธีการสอนโดยการจัดกิจกรรมประกอบ
2 หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อการปรับปรุงการสอน เช่น สำรวจความต้องการในกิจกรรมในการระดมสมอง พัฒนาวิธีการสอนโดยการจัดกิจกรรมประกอบ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ใน
รายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ
ย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำ หลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ
รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
รายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ
ย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำ หลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ
รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1 ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคเรียน ตามข้อเสนอแนะ ความต้องการของนักศึกษา จากผลการประเมิน และตามวิวัฒนาการโลกปัจจุบัน
2 ทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในระดับหลักสูตร คณะฯ และระกับมหาวิทยาลัยเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์พันธกิจ และการประกันคุณภาพการศึกษา
2 ทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในระดับหลักสูตร คณะฯ และระกับมหาวิทยาลัยเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์พันธกิจ และการประกันคุณภาพการศึกษา