โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม

Engineering Metallurgy

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้มีความรู้และความเชี่ยวชาญ เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะวิทยา มีความเข้าใจคุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ โดยเฉพาะแผนภาพสมดุลของเหล็ก-คาร์บอน และกรรมวิธีอบชุบ ตลอดจนการกัดกร่อน อีกทั้งยังปลูกฝังให้นักศึกษามีเจตนคติที่ดีแก่วิชาโลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศาสตร์ที่เกี่ยวกับโลหการวิศวกรรม ที่เป็นวิชาพื้นฐานเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่าง ๆ ที่ต้องใช้โลหะในการนำไปใช้งาน จึงจำเป็นต้องปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ แผนภาพสมดุลของเหล็ก-คาร์บอน กรรมวิธีอบชุบและการกัดกร่อน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
        พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
        มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง (Hand On) ตามลักษณะงานต่าง ๆ ที่กำหนด โดยสอดแทรกเทคนิคการวิเคราะห์ที่เกี่ยวกับโลหะที่ใช้ในงานวิศวกรรม สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น

             3.  ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
1.   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.   สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาระหว่างทำการสอนว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
     ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ประกอบไปด้วย อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ แผนภาพสมดุลของเหล็ก-คาร์บอน กรรมวิธีอบชุบและการกัดกร่อน โดยนักศึกษาต้องสามารถประยุกต์ใช้ความรู้วิชานี้กับวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ เช่น วิชาวิศวกรรมงานหล่อโลหะ งานอบชุบโลหะ เป็นต้น รวมทั้งต้องมีความรู้เพียงพอในการนำไปสร้างนวัตกรรมในงานจริงได้
      แบบสาธิต อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และการปฏิบัติจริง ตลอดจนการมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
3. พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม
      สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
1 สาธิตและให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง (Hand On)
2 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3 อภิปรายกลุ่ม
4 วิเคราะห์กรณีศึกษา
5 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นการปฏิบัติ และวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
2 วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
      สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีงานโลหะในปัจจุบัน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3 การนำเสนอรายงาน
1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
      มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านโลหะวิทยา การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้โดยผ่านห้องสนทนา Chat Room
1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 สาธิตวิธีการปฏิบัติงานและมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติตามใบงาน
 แบ่งกลุ่มเพื่อการปฏิบัติงาน โดยการจัดแบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสม และการอภิปรายกลุ่ม
1 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 - 4 บทที่ 5 - 7 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 1.1-1.2 1.3 2.2, 3.2, 3.4 5.3– 5.5 4.2,4.3,6.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.4, 1.5, 2.5, 2.6, 3.5, 3.6, 4.5, 4.6, 5.6, 5.7, 5.8, 6.4, 6.5, 6.6, 7.5 ภาคปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 ทุกบทเรียน การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา ความตั้งใจ การเข้าร่วมกิจกรรม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. 2539. หลักเคมี 1 : ทฤษฎี โครงสร้าง ปฏิกิริยา. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง
เฮ้าส์.   พจนานุกรมศัพท์วัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี. 2547. กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ   (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.   พีรพันธ์ บางพาน. 2549. เหล็กกล้าและโครงสร้างทางโลหะวิทยาของเหล็กกล้า. เชียงใหม่ :   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ.   J. T. H. Pearce. และ บัญชา ธนบุญสมบัติ. 2542. เทคโนโลยีและโลหะวิทยาของเหล็กหล่อผสม.     กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.   มนัส สถิรจินดา. 2531. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก (Iron & Steel Heat – Treatment Engineering).     กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ใ   มนัส สถิรจินดา. 2529. เหล็กกล้า (Steel). กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระ-     บรมราชูปถัมภ์.   วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์ และ ชาญ ถนัดงาน. 2537. การออกแบบเครื่องจักรกล 1. กรุงเทพฯ : บริษัท     ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.   วีระพันธ์ สิทธิพงศ์. 2532. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1. กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา.   สุภชัย ประเสริฐสกุล. มปป. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1. วิทยาเขตขอนแก่น.   สุภชัย ประเสริฐสกุล. มปป. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 4. วิทยาเขตขอนแก่น. เอกสารสัมมนา. มปป. งานหล่อโลหะ.   Allen, Dell K. and Mortensen, Kay S. 1973. Metallurgy and Materials Science Laboratory     Manual. Chicago : American Technical Society.   American Society for Metals. 1995. ASM Handbook Volume 9 : Metallography and   Microstructures. 6th ed. Materials Park, Ohio : ASM International.   American Society for Metals. 1996. ASM Handbook Volume 15 : Casting. 6th ed. Materials Park, Ohio : ASM International.   Askeland, Donald R. and Webster, P. 1990. The Science and Engineering of Materials.
2nd ed. London : Chapman & Hall.   Avner, Sidney H. 1974. Introduction to Physical Metallurgy. 2nd ed. N.Y. : McGraw – Hill     Book Company.   Bramfitt, Bruce L. and Benscoter, Arlan O. 2002. Metallographer’s Guide : Practices and     Procedures for Irons and Steels. Ohio : ASM International.    
Brick, Robert M., Gordon, Robert B. and Phillips, Arthur. 1965. Structure and Properties
of Alloys : The Application of Phase Diagrams to the Interpretation and Control
of Industrial Alloy Structures. 3rd ed. New York : McGraw-Hill.   Callister, William D. 1985. Materials Science and Engineering : An Introduction. New
York : John Wiley & Sons.   Chandler, Harry, [editor]. 1999. Heat Treater’s Guide : Practices and Procedures for
Nonferrous Alloys. 2nd ed. Ohio : ASM International.   Courtney, Thomas H. 1990. Mechanical Behavior of Materials. Singapore : McGraw - Hill     International.   Dalton, William K. 1994. The Technology of Metallurgy. New York : Macmillan
Publishing Co.   Davis, J.R., [editor]. 2002. Surface Hardening of Steel : Understanding the Basics. Ohio :
ASM International.   Davis, J.R., [editor]. 1998. Metals Handbook. 2nd ed. Ohio : ASM International.   Flinn, Richard A. 1963. Fundamentals of Metal Casting. Reading, Massachusetts :
Addison - Wesley Publishing Co.   Fredrikson, H. and Hillert, M., [editors]. 1985. The Physical Metallurgy of Cast Iron. New
York : North – Holland.   Gustavo Waldemar Mugicaa et al. 2004. Materials Research. Vol.7.No.2. n.p.   Guy, Albert G. 1962. Physical Metallurgy for Engineers. London : Addison-Wesley.   Higgins, Raymond A. 1993. Engineering Metallurgy Part 1 : Applied Physical Metallurgy. 6th ed. London : Edward Arnold.   Kou, Sindo. 2003. Welding Metallurgy. 2nd ed. New Jersey : John Wiley & Sons.   Metalog Guide. 1992. Denmark : Rolf Petersen A/S.   Moniz, B.J. 1994. Metallurgy. 2nd ed. Illinois : American Technical Publishers.   Pollack, Herman W. [No Date]. Materials Science and Metallurgy. 4th ed. n. p : Prentice-
Hall International.   Porter, David A. and Easterling, Kenneth E. 1981. Phase Transformations in Metals and
Alloys. London : Van Nostrand Rainhold.   Rhines, Frederick. N. 1956. Phase Diagrams in Metallurgy : their Development and
Application. New York : McGraw – Hill.   Smith, William F. 1990. Principles of Materials Science and Engineering. 2nd ed. New
York : McGraw-Hill.   Smith, William F. 1993. Structure and Properties of Engineering Alloys. 2nd ed. New
York : McGraw-Hill.   The American Foundrymen’s Society. 1993. Ductile Iron Handbook. Illinois : the
American Foundrymen’s Society.   The Materials Information Society. 2002. Atlas of Stress – Strain Curves. 2nd ed. Ohio :
ASM International.   Van Vlack, L. H. 1989. Elements of Materials Science and Engineering. New York :
Addison - Wesley.   Walton, Charls F., [editor]. 1981. Iron Castings Handbook : Covering data on Gray,
Malleable, Ductile, White, Alloy and Compacted Graphite Irons. n.p. : Iron
Castings Society.   Wood. W.A. 1971. The Study of Metal Structures and their Mechanical Properties. New
York : Pergamon Press.  
Brown, John R., [editor]. 2000. Foseco Ferrous Foundryman’s Handbook. Oxford :
Butterworth Heinemann.
Baker, Hugh. 1992. ASM Handbook Volume 3 : Alloy Phase Diagrams. Ohio : ASM
International.
Cullity, B.D. 1978. Elements of X – Ray Diffraction. 2 nd ed. Massachusetts : Addison
Wesley.
Japanese Standards Association. 1999. JIS Handbook : Ferrous Materials & Metallurgy.
Tokyo : Japanese Standards Association.
Jastrzebski, Z.D. 1987. The Nature and Properties of Engineering Materials. New York : John
Wiley.
http://www.buehler.com เว็บไซต์เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือทางโลหะวิทยา
http://www.metallographic.com เว็บไซต์เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือทางโลหะวิทยา
http://www.testinginstrument.com เว็บไซต์เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือทางโลหะวิทยา
http://www.tpub.com/ เว็บไซต์เกี่ยวกับอุณหภูมิ
http://www.metallography.com เว็บไซต์เกี่ยวกับโครงสร้างโลหะ
http://www.asminternational.org เว็บไซต์หนังสือของ ASM
http://www.microscopy-today.com เว็บไซต์เกี่ยวกับโครงสร้างโลหะ
http://www.formatex.org เว็บไซต์งานวิจัยและการวิเคราะห์โครงสร้างโลหะ
http://www.internationalmetallographicsociety.org เว็บไซต์เกี่ยวกับทางด้านโลหะวิทยา
http://aluminium.matter.org.uk เว็บไซต์สมบัติทางกลของอะลูมิเนียม
http://www.matweb.com เว็บไซต์ข้อมูลโลหะแบบ online
http://www.steel.org เว็บไซต์ของ American Iron and Steel Institute
http://www.msm.cam.ac.uk เว็บไซต์งานวิจัยสมบัติทางกลของโลหะ
http://www.ccm.udel.edu/Personnel/homepage/class_web เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Materials Science for Engineers
http://www.msm.cam.ac.uk/phase-trans/teaching.html เว็บไซต์การเรียนการสอนของ University of Cambridge
http://www.eng.auburn.edu/~wfgale/intro_metals/section2.htm เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา An Introduction Metallic Materials
http://www.uwgb.edu/dutchs/symmetry/symmetry.htm เว็บไซต์เกี่ยวกับ Bravais lattices
http://www.mse.mtu.edu/~drjohn/my3200/lab1/steel.html เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับการโปรเจคภาพแบบสเตริโอกราฟิคส์
http://www.lassp.cornell.edu/sethna/Tweed/What_Are_Martensites.html เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับโครงสร้างผลึก
http://www.people.virginia.edu/~lz2n/mse209 เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Introduction to the Science and Engineering of Materials ของ University of Virginia
http://www.assabth.com/in_right.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ cold work tool steel
http://www.isit.or.th/techinfo.asp เว็บไซต์ข้อมูลทางเทคนิคเกี่ยวกับเหล็กและเหล็กกล้าของประเทศไทย
http://www.awpa.org เว็บไซต์ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นลวด
http://www.eng.auburn.edu/~wfgale/intro_metals เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา An Introduction to Metallic Materials
http://www.people.virginia.edu/~lz2n/mse209 เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Introduction to the Science and Engineering of Materials ของ University of Virginia
http://en.wikipedia.org/wiki/Dendrite_(metal) เว็บไซต์เกี่ยวกับ dendrite
http://math.nist.gov/mcsd/savg/vis/dendrite/index.html เว็บไซต์วิดีโอ dendrite
http://news.chess.cornell.edu/articles/2006/alloy.html เว็บไซต์งานวิจัยเกี่ยวกับ dendrite
http://www.mtm.kuleuven.ac.be/Research/A2P2/Solidification.html เว็บไซต์เกี่ยวกับการแข็งตัวของโลหะ
http://www.physnet.uni-hamburg.de/iap/group_ds/research/nucleation.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ heterogeneous nucleation and growth
http://www.mtm.kuleuven.ac.be/Research/A2P2/Solidification.html เว็บไซต์เกี่ยวกับการแข็งตัวของโลหะ
http://www.tech.farmingdale.edu/depts/met/met205/crystallization.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ crystal formation
http://www.mpipks-dresden.mpg.de/~emmerich/forschung/whatden.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ dendrite
http://www.tms.org/pubs/journals/JOM/0306/David-0306.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ solidification and microstructure ในงานเชื่อมโลหะ
http://mc-mjnde.ornl.gov/BES/Solidification/TransparentMaterial/default.html เว็บไซต์มีภาพเคลื่อนไหวของการ growth ในงานเชื่อม
http://web.met.kth.se/dct/pd เว็บไซต์แผนภาพสมดุลชนิดต่าง ๆ
http://www.sjsu.edu/faculty/selvaduray เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Material Engineering
http://www.mrl.ucsb.edu/~edkramer/ เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับแผนภาพเฟส
http://www.sjsu.edu/faculty/selvaduray เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Material Engineering
http://www.mrl.ucsb.edu/~edkramer/ เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับแผนภาพเฟส
http://web.met.kth.se/dct/pd เว็บไซต์แผนภาพสมดุลชนิดต่าง ๆ
http://www.sjsu.edu/faculty/selvaduray เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Material Engineering
http://www.mrl.ucsb.edu/~edkramer/ เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับแผนภาพเฟส
http://web.met.kth.se/dct/pd เว็บไซต์แผนภาพสมดุลชนิดต่าง ๆ
http://www.sjsu.edu/faculty/selvaduray เว็บไซต์การเรียนการสอนวิชา Material Engineering
http://www.mrl.ucsb.edu/~edkramer/ เว็บไซต์การเรียนการสอนเกี่ยวกับแผนภาพเฟส
http://web.met.kth.se/dct/pd/element/C-Fe.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ Fe – C diagram
http://www.steel.org เว็บไซต์ของ American Iron and Steel Institute
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
   1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
  2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
     จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ