กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของวิชากลศาสตร์ มีความรู้พื้นฐานในกฎของนิวตัน เข้าใจหลักการเบื้องต้นในเรื่องของแรง แรงลัพธ์ โมเมนต์ของแรง ผลของแรงที่กระทำต่อโครงสร้างแบบต่าง ๆ
ไม่มี
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
อาจารย์ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(ข้อ 2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
เช็คชื่อก่อนในชั้นเรียนและมีการให้คะแนนกับผู้เข้าเรียนตรงเวลา ให้งานกลุ่มที่มีการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ให้นักศึกษาร่วมทำความสะอาดห้องเรียนหลังเลิกเรียน
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน ให้คะแนนการเช็คชื่อ
1.3.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.3  ความมีส่วนร่วมในการนำเสนอรายงาน
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(ข้อ 1)  มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(ข้อ 3)  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(ข้อ 5)  สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยาย  การทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน การมอบงานให้ทำนอกชั่วโมงเรียน
2.3.1   สอบกลางภาค
2.3.2   สอบปลายภาค
2.3.2   งานทำแบบฝึกหัดนอกชั่วโมงเรียน
(ข้อ 3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การมอบให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำงานค้นคว้าและการนำเสนอผลงาน
จากเล่มรายงานและการนำเสนอผลงาน
(ข้อ 4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
มอบหมายงานรายกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
สอบย่อยเก็บคะแนนระหว่างกลางภาค และระหว่างปลายภาค
มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบท
 
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
ประเมินจากคะแนนสอบย่อยระหว่างกลางภาค และระหว่างปลายภาค
และแบบฝึกหัดท้ายบท
 
(ข้อ 3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(ข้อ 5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
 ให้ทำแบบฝึกหัดด้วยตนเองในชั่วโมงเรียน
ประเมินจากการให้ทำแบบทดสอบในชั่วโมงเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGCC302 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียนและการให้ความร่วมมือในการทำความสะอาดชั้นเรียน 16 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค 9 35%
3 ความรู้ สอบปลายภาค 17 35%
4 ทักษะทางปัญญา และทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่ม ทำรายงานและนำเสนอผลงาน 8 15%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน 16 5%
วีระศักดิ์ กรัยวิเชียร รศ. และคณะ กลศาสตร์วิศวกรรมภาคสถิตยศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 9 บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด กรุงเทพฯ 2551
สิริศักดิ์ ปโยธรสิริ กลศาสตร์วิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร์ บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด กรุงเทพฯ 2543
 

 
Engineering Mechanics R.C.HIBBELER
Engineering Mechanics (Statics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE
Engineering Mechanics (Dynamics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE