เคมีอินทรีย์ 1

Organic Chemistry 1

1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
2 มีความรู้และความเข้าใจ วิชาเคมีอินทรีย์1 รู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาเคมีอินทรีย์
รู้และเข้าใจโครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ทั้งชนิดสารประกอบอะลิฟาติก สารประกอบ อะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
3. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีทักษะการแก้ปํญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษารู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาเคมีอินทรีย์และสามารถนำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสามารถตระหนักรู้ในประโยชน์และโทษของสารประกอบอินทรีย์ในประจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ ทั้งชนิดสารประกอบ อะลิฟาติก สารประกอบ อะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์ สเตอริโอเคมี
Study under the topic of chemical structure properties reaction and preparation of hydrocarbon compound and their derivatives including with aliphatic alicyclic aromatic and their derivatives and stereochemistry
หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) เพื่อให้คำปรึกษาและนัดหมายนักศึกษา
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกาย การเข้าเรียนตรงต่อเวลา เขียนงานและส่งงานที่มอบหมายได้ครบถ้วน ตรงต่อเวลา
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
4. การสอนแบบบรรยาย
5. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
 
 
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การนำเสนองาน
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
6. การซักถามในห้องเรียน
เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา จากการตรวจโจทย์แบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปราย
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
- ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
-การนำเสนองานและสืบค้นข้อมูลในการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์กับวิชาชีพ
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การตอบคำถามในชั้นเรียน การทำโจทย์เสริมทักษะ การร่วมมือในการทำงานกลุ่ม การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย การสืบค้นข้อมูล การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา การเข้าชั้นเรียน 10% การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 65% การตอบคำถามในชั้นเรียน การทำโจทย์เสริมทักษะ 10% การนำเสนอการส่งงานตามที่มอบหมาย
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
ประดิษฐ์ มีสุข. 2544. เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.
ประสงค์ เหลี่ยมโสภณ. 2548. เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีอินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
พงษ์ทิพย์ โกเมศโสภาและธนานิธ เสือวรรณศรี, 2534, เคมีอินทรีย์พื้นฐาน, ภาควิชาเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ.
รำไพ สิริมนกุล. 2546. เคมีอินทรีย์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.
วารุณี ยงสกุลโรจน์. 2547. เคมีอินทรีย์ 2 . พิมพ์ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.
สุนันทา วิบูลย์จันทร์. 2548. เคมีอินทรีย์. พิมพ์ครั้งที่ 9. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
สมพงษ์ จันทร์โพธิ์ศรี, 2552, เคมีอินทรีย์ 1, สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์, กรุงเทพ.
โสภณ เริงสำราญและคณะ. 2545. เคมีอินทรีย์ 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพฯ.
อุดม ก๊กผล, โสภณ เริงสำราญ และ อมร เพชรสม. 2543. เคมีอินทรีย์ 1 . พิมพ์ครั้งที่ 7.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
Brow, W.H., Foote, C.S.and Iverson, B.L. 2005.Organic Chemistry, 4th . ed,
Thomson Learning, Belmont
 
1. เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม  โครงการตำรา, 2543, สารอินทรีย์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่,  McMurry, J. 2004. Organic Chemistry, 6th . ed, Brooks Cole, California.  Morrison, R.T. and Boyd, R.N., 1992. Organic Chemistry, 6th . ed,Prentice Hall,  New Jersey.  Pine, S.H., 1987.Organic Chemistry, 5th . ed, McGraw-hill, New York.  Robinson, M.J.T, 2002. Organic Stereochemistry. Oxford University Press,  New York.  2. เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม  Solomons, T.W.G. and Fryhle C.B. 2007.Organic Chemistry, 9th . ed, John Wiley  & Sons, New York.  Sykes, P. 1996. A Primer to Mechanism inOrganic Chemistry, Prentice Hall,  New Jersey.  แก้ไข
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4