ศิลปะภาพพิมพ์ 1
Printmaking 1
1. เข้าใจระบบและขั้นตอนการทำงานศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
2. เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ด้วยศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
3. รู้วัสดุอุปกรณ์ในการทำศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
4. มีทักษะในการทำศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
5. มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
6. เห็นคุณค่าของงานศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
2. เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ด้วยศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
3. รู้วัสดุอุปกรณ์ในการทำศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
4. มีทักษะในการทำศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
5. มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
6. เห็นคุณค่าของงานศิลปะภาพพิมพ์สกรีน
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ศิลปะภาพพิมพ์ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพพิมพ์สกรีน โดยความรู้จากความเข้าใจในศิลปะภาพพิมพ์สกรีนนี้สามารถนำไปพัฒนาในผลงานสร้างสรรค์เฉพาะตนต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพพิมพ์สกรีน (Screen Printmaking )โดยเน้นความพิเศษเฉพาะของเทคนิคและความคิดสร้างสรรค์
Study and practice with printmaking through the medium of screen printmaking, with emphasis on unique techniques and creativity.
Study and practice with printmaking through the medium of screen printmaking, with emphasis on unique techniques and creativity.
3
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็น
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงานจริง ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะเนื้อหาของรายวิชาศิลปะภาพพิมพ์ 1
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๓. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๓. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษาการมอบหมายงานให้นักศึกษาแล้วให้สังเกตปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาและวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงาน
มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
-
-
-
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีสร้างภาพร่างและปฏิบัติงานตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BFAVA131 | ศิลปะภาพพิมพ์ 1 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | นักศึกษาเข้าใจและสามารถปฏิบัติการสร้างสรรค์ศิลปะภาพพิมพ์ในกระบวนการแม่พิมพ์สกรีนเพื่อนำไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานเฉพาะตนต่อไปได้ในอนาคต | การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 1,2 สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 3,4 สอบปลายภาค | 4,6,8,9,11,13,15,17 | การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 1,2 30% สอบกลางภาค 10% การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 3,4 40% สอบปลายภาค 10% จิตพิสัย 10% |
กมล คงทอง. ศิลปะภาพพิมพ์ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2543
กมล ศรีวิชัยนันท์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มาของแรงบันดาลใจในการสร้างศิลปะ.เอกสารประกอบการสอนวิชาภาพพิมพ์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จุฑารัตน์ วิทยา. ภาพพิมพ์ซิลค์สกรีน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บพิธการพิมพ์, 2550
ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2557
นิพนธ์ ทวีกาญจน์. ตะแกรงไหม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2526
วิเชียร จิระกานนท์,นงเยาว์ จิระกานนท์. การพิมพ์ซิลค์สกรีน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2529
อิทธิพล ตั้งโฉลก.ทรรศวรรษภาพพิมพ์-แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร 2531
อัศนีย์ ชูอรุณ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์,ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2532
กมล ศรีวิชัยนันท์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มาของแรงบันดาลใจในการสร้างศิลปะ.เอกสารประกอบการสอนวิชาภาพพิมพ์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จุฑารัตน์ วิทยา. ภาพพิมพ์ซิลค์สกรีน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บพิธการพิมพ์, 2550
ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2557
นิพนธ์ ทวีกาญจน์. ตะแกรงไหม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2526
วิเชียร จิระกานนท์,นงเยาว์ จิระกานนท์. การพิมพ์ซิลค์สกรีน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2529
อิทธิพล ตั้งโฉลก.ทรรศวรรษภาพพิมพ์-แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร 2531
อัศนีย์ ชูอรุณ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์,ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2532
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น Art in America วารสารจากสถาบันต่างๆ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพพิมพ์
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพพิมพ์