การพูดและการเขียนทางวิชาชีพ

Speaking and Writing for Careers

1.1 เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีที่สำคัญทางด้านการสื่อสารด้วยการพูดและการเขียนทางวิชาชีพ
1.2 เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการเตรียมการพูดและการเขียนทางวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ
1.3 เพื่อให้ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการพูดและการเขียนทางวิชาชีพในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับการเขียนประเภทนั้น ๆ
1.4 เพื่อนำความรู้และทักษะที่ได้จากการศึกษาในวิชานี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง
1.5 เพื่อให้มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม โดยสามารถประยุกต์ใช้การพูดและการเขียนให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมได้
เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดและการเขียนทางวิชาชีพให้แก่นักศึกษา โดยเน้นการจัดกิจกรรมเสริมทักษะทางการพูดและการเขียนทางวิชาชีพในรูปแบบต่าง ๆ และการพัฒนาทักษะการแสดงออกทางการพูดและการเขียนในโอกาสต่าง ๆ รวมทั้งเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรายวิชาอื่น ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพูดและการเขียน การเลือกเรื่องในการนำเสนอ การเตรียมตัวและการเตรียมเนื้อหา ตลอดจนการพัฒนาบุคลิกภาพของการพูดและการเขียน การฝึกทักษะและเทคนิคการพูดการเขียนทางวิชาชีพ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการพูดและการเขียนอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อ บุคคล องค์กร และสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 ใช้กระบวนการคิดผังมโนทัศนฺ์เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการเขียน
1.2.2 ใช้ Infochart เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการพูด
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาพูดและเขียนอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอทักษะการพูดและการเขียน
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสารในงานอาชีพและในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงาน การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2 นำเสนอ  การส่งงาน  และความรับผิดชอบ
2.3.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษา
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเสนอทักษะการพูดและการเขียน
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากประสบการณ์ เหตุการณ์ปัจจุบัน
สอบกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การเตรียมบทพูด เตรียมข้อมูลในการเขียน
4.2.3 การนำเสนอ
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน พฤติกรรมการทำงาน

ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลการพูดและการเขียนทางอินเทอร์เน็ต
5.1.2 พัฒนาทักษะในการพูด การเขียน โดยการนำข้อมูลจากสื่อเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการพูดและงานเขียน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการพูดและการเขียน
ด้านทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา (CognitiveSkills)
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
˜ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
˜มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜สามารถใช้ความรู้ ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
˜สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
˜สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1) บรรยายและอภิปราย การใช้สื่อมิเดียต่างๆ การใช้กรณีศึกษา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
2) การมอบหมายให้นักศึกษาแสดงทักษะทางภาษาไทย การทำรายงานชิ้นงาน และนำเสนอผลการศึกษา


3) มอบหมายงานกลุ่มในการ ศึกษาค้นคว้า
4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง


5) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
6) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1) เก็บคะแนนย่อย โดยเน้นการใช้ทักษะทางภาษาไทยโดยการปฏิบัติจริง
2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ในการอภิปรายในชั้นเรียน

3) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
4) รายงานการศึกษาและชิ้นงานค้นคว้าด้วยตนเอง 5) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
6) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อมีเดียและเทคโนโลยี 7) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์