ออกแบบมัลติมีเดีย 4

Multimedia Design 4

- มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ความรู้ในเรื่องลิขสิทธิ์ในการทำงานแอนิเมชั่น
          - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างงานแอนิเมชั่น
          - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในการทางานสร้างงานแอนิเมชั่น
          - มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ในการทำโครงงานออกแบบสื่อสารกับงานด้านต่างๆ
          - สามารถทำงานได้ตามกระบวนการออกแบบ และการสร้างงานแอนิเมชั่นได้อย่างเป็นระบบ
          - สามารถทำงานเป็นทีม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ต้องผ่านอาจารย์ ได้อย่างเหมาะสม
          - รู้หลักการสื่อสาร สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้สื่อสาหรับนำเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม
เพิ่มให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมกับการคิดโจทย์ของโครงงานมากขึ้น เน้นสอนให้นักศึกษาเข้าใจการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการใช้แนวความคิดในการออกแบบให้เป็นขั้นเป็นตอนมากขึ้น ฝึกนักศึกษาในเรื่องการค้นหาข้อมูล ลดขนาดกลุ่มและลดขอบเขตงานลง ฝึกให้นักศึกษาแต่งเรื่องสั้นให้เป็น มอบหมายโจทย์ให้เข้าร่วมกับงานกั๊น ฝึกการทำงานร่วมกัน
ศึกษากระบวนการทำงานด้านการสร้างการเคลื่อนไหว ในรูปแบบต่างๆ กฎของ การสร้างแอนิเมชั่น และสร้างความเข้าใจในการทำแอนิเมชั่น แบบสามมิติ โดยการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ฝึกทักษะการสร้าง แอนิเมชั่นโดยโปรแกรม สำเร็จรูปสามมิติ โดยการประยุกต์ใช้กฎของแอนนิเมชัน กับการสร้างการเคลื่อนไหวในสัดส่วนของมนุษย์
2 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอน แจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และติดประกาศไว้ที่บอร์ดประจำสาขาวิชา
- แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่สมาชิกที่มีคุณค่าของสังคมพึงมี อาทิ ซื่อสัตย์ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เคารพกฎกติกาของสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ความรู้ในเรื่องลิขสิทธิ์ในการทำงานแอนิเมชั่น
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
- บรรยายเรื่องการลอกเลียนผลงาน และข้อตกลงร่วมกันในการเรียน
          - ปฏิบัติงาน
          - การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย
          - ประเมินจากผลงานปฏิบัติ
          - ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างงานแอนิเมชัน กระบวนการในการออกแบบ
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในการทำงานแอนิเมชั่น
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้การทำงานออกแบบแอนิเมชั่นกับงานประเภทอื่นๆได้
- บรรยาย
          - สาธิต
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ในการสร้างงานแอนิเมชั่นกับงานด้านต่างๆ
- สามารถทำงานได้ตามกระบวนการออกแบบ และการสร้างงานแอนิเมชั่นได้อย่างเป็นระบบ
- มอบหมายงานบุคคล (งานในคาบเรียน)
          - มอบหมายงานบุคคล (การบ้าน ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
          - มอบหมายงานกลุ่มย่อย (การส่งแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน การบ้าน)
          - ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
          - ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
- มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ ทั้งในฐานะผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม
- สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการริเริ่มสิ่งใหม่ แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน มีส่วนร่วมในการทำงาน การวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ปัญหาในกลุ่ม
- สามารถทำงานเป็นทีม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ต้องผ่านอาจารย์ ได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ด้านการสร้างงานแอนิเมชั่นมาใช้ในงานออกแบบบริการสังคม      
- มอบหมายงานบุคคล (งานในคาบเรียน)
          - มอบหมายงานบุคคล (การบ้าน ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
          - มอบหมายงานกลุ่มย่อย (การส่งแบบร่าง โครงงาน)
          - นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
          - ประเมินจากผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
          - ประเมินจากการสังเกตปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- รู้หลักการสื่อสาร สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้สื่อสาหรับนาเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม
- สามารถสืบค้นและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เพื่อต่อยอดงานให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการนำเสนอ (การพูด การตอบคำถาม ความพร้อมของทีม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43012304 ออกแบบมัลติมีเดีย 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 4.1-4.3 1.1, 1.2, 4.1-4.3 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1-16 7%
2 1.3 1.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1-16 3
3 1.3, 2.1-2.3, 3.1, 3.2, 5.2 ผลงานรายบุคคล (การตรวจแบบร่าง, โครงงาน) 11-16 30
4 1.1, 1.4, 2.1-2.3, 3.2, 4.1-4.4, 5.1, 5.2 ผลงานกลุ่ม (ค้นคว้า, ฝึกปฏิบัติ, การทำงาน, การตรวจแบบร่าง โครงงาน) 1-16 40
5 1.1, 1.4, 5.1, 5.3 การนำเสนอ 13 10
6 2.1, 2.2, 3.2, 5.3 การสอบข้อเขียน (สอบข้อเขียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ) 9, 18 10
เอกสารประกอบการสอน 
คุณก็เป็นนักเขียนได้ : คู่มือการเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย บทละครโทรทัศน์ และบทภาพยนตร์
Author สินี เต็มสงใส.
หลักการเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและบทวิทยุโทรทัศน์ /คมสัน รัตนะสิมากูล.
Author คมสัน รัตนะสิมากูล.
Nuke 101bprofessional compositing and visual effects /Ron Ganbar.
Author Ganbar, Ron.
The complete animation course /Chris Patmore.
Author Patmore, Chris.
Secrets of digital animation :a master class in innovative tools and techniques /Steven Withrow.
Animation in process /Andrew Selby.
เขียนบทหนัง ซัดคนดูให้อยู่หมัด
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบงานคาแรคเตอร์
          เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการเขียนบท
          เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบแอนิเมชั่น
          เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการสร้างงานแอนิเมชั่น
          เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการสร้างงานฉายภาพลงบนวัตถุ
          เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการทำงาน Video Jockey
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้
- ความตรงต่อเวลา
- การแต่งกาย บุคลิกภาพ
- คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
- การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
- ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้
- แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน
- จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
- การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2    ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
- ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้
- ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้
- ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2    สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยอาจารย์ประจำหลักสูตร) ในประเด็นต่อไปนี้
- ความตรงต่อเวลา
- การแต่งกาย บุคลิกภาพ
- คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
- การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
- ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน
- ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้
- แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน
- จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
- การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
2.3    ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้
- ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน
- ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน
- ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1    ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2    ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้
- ผลการศึกษาของนักศึกษา
- ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- ผลการประเมินการสอน
- มติในที่ประชุมอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล