นันทนาการ

Recreation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนันทนาการ มีทักษะพื้นฐานในการจัดกิจกรรมนันทนาการ
สามารถเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมทางนันทนาการเพื่อพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
              ศึกษาความรู้ทั่วไป  ปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ  การจัดกิจกรรมนันทนาการ  และเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในช่วงเวลาทำงาน (Office Hours) (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์สุจริต โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้

  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (1.1)

  มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม(1.3
 1.2.1 กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับวินัย และพฤติกรรมในการเรียน
 1.2.2  สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียน
                 1.2.3  เน้นการมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
                 1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมและการแต่งกายของนักศึกษา
                 1.3.2 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมนันทนาการ  การจัดกิจกรรมนันทนาการ 
และเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม ให้ได้รับความรู้ตามคุณสมบัติของหลักสูตร (2.1)
บรรยายและฝึกปฏิบัติ  มอบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้า  
                2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ที่สอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร (3.1)
มอบหมายให้นักศึกษาทำการค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์  สื่อการสอน e-learning และสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน     
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบข้อเขียนที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ในเนื้อหาตามที่เรียน
                พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตามข้อกำหนดในคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้
                4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม (4.2)
                4.1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (4.3)
4.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม
                4.2.2 การนำเสนอและอภิปราย
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา
               4.3.2 ตรวจสอบผลงานที่นำเสนอของนักศึกษา
พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
การนำเสนอ การสืบค้นข้อมูล โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website และทำรายงานโดยการ
ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และนำเสนอ โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
       การจัดทำรายงาน หรือการนำเสนอผลงาน  วิธีการและการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
ของนักศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม(1) การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา พฤติกรรมและการแต่งกายของนักศึกษา ตลอดภาค การศึกษา 10%
2 ด้านความรู้(2) สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียน 9 10%
3 และปัญญา(3) สอบปลายภาคด้วยข้อสอบข้อเขียน 17 10%
4 ด้านทักษะ ความสัมพันธ์(4) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ ตลอดภาค การศึกษา 10%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (5) การจัดทำรายงาน หรือการนำเสนอผลงาน วิธีการและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายของนักศึกษา ตลอดภาค การศึกษา 10%
6 ด้านทักษะปฏิบัติ (6) ทดสอบปฏิบัติการเป็นผู้นำนันทนาการ ทดสอบปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ 16 50%
1. กิติ พยัคคานนท์. การสร้างผู้นำ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บัตเตอร์ฟลาย, 2532.
         2. คณิต เขียววิชัย. หลักนันทนาการ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529
         3. จรินทร์ ธานีรัตน์. นันทนาการชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2528.
         4. ชูชีพ เยาวพัฒน์. นันทนาการ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2543
          5. เอนก ช้างน้อย. นันทนาการ. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2532.
1. กิติ พยัคคานนท์. การสร้างผู้นำ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บัตเตอร์ฟลาย, 2532.
         2. คณิต เขียววิชัย. หลักนันทนาการ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529
         3. จรินทร์ ธานีรัตน์. นันทนาการชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2528.
         4. ชูชีพ เยาวพัฒน์. นันทนาการ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2543
          5. เอนก ช้างน้อย. นันทนาการ. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2532.           
           ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ (Website)
                   เว็บไซต์ www.Google.com
           1.1 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
           1.2 ใช้แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
           2.1 สังเกตจากการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน
           2.2 ประเมินจากผลการสอบของผู้เรียน
          3. 1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3. 2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
          4. 1 ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร
         4. 2 ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนงานที่มอบหมาย และการให้คะแนนพฤติกรรม 
          5. 1 ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาที่เปิดเรียน หรือ ตามข้อเสนอแนะ
         5. 2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองกว้างไกล