การวิเคราะห์อาหารสัตว์

Feed Analysis

1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ การวิเคราะห์แร่ธาตุบางชนิด การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์ การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหาร
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการตรวจสอบคุณภาพอาหารโดยใช้กล้องจุลทรรศน์
เนื่องจากปัจจุบันข้อมูลด้านวัตถุดิบอาหารสัตว์มีการเปลี่ยนแปลงและมีวัตถุดิบชนิดใหม่ ๆ เกิดขึ้นจำนวนมากและรวมถึงมีการพัฒนาหรือหาแหล่งวัตถุดิบใหม่เพื่อทดแทนแหล่งวัตถุดิบเดิมที่ขาดแคลนเหล่านี้ล้วนเป็นที่มาของความสำคัญในการวิเคราะห์อาหารสัตว์ ทำให้เกิดการปรับปรุงรายละเอียดวิชาเพื่อเพิ่มเติมเนื้อหาใหม่ ๆ และปรับกระบวนการเรียนให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานที่ทันสมัย สามารถนำประยุกต์ไปใช้ได้เหมาะสมกับสภาวะการในปัจจุบัน
ศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ เก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ การวิเคราะห์แร่ธาตุบางชนิด การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์ การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหาร การตรวจสอบคุณภาพอาหารโดยใช้กล้องจุลทรรศน์
3.1 ทุกวัน โดยนักศึกษานัดหมายเวลาก่อนล่วงหน้า โทร 0883238221
3.2 e-mail; Ratchaneebourapa@gmail.com ทุกวัน
3.3 ทางไลน์ : @ratchanui
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
- ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
- การประเมินผลงาน (ภาคปฏิบัติ) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นภาคปฏิบัติของผู้เรียนว่ามีความถูกต้องถูกต้อง และเหมาะสม ไม่มีการคัดลอกผลงานของนักศึกษาผู้อื่น
- บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- การบรรยายประกอบสื่อการสอน
- ให้นักศึกษาปฏิบัติจริง ในโจทย์งานที่สอดคล้องกับเนื้อหาและสภาวะปัจจุบัน
 
- ข้อสอบแต่ละหน่วยเรียน โดยการสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน
-สอนโดยใช้ประเด็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามองเห็นภาพของการนำไปใช้ได้จริง
-การจัดสัมมนา
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การให้ทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้โจทย์งานที่สามารถทำงานร่วมกันได้
 
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้นักศึกษาสืบค้น โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติม
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
 
- การประเมินผลงานรายบุคคล (ผลงาน) ผู้สอนตรวจผลงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1.
เมธา วรรณพัฒน์. 2533. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สาโรช ค้าเจริญ. 2547. อาหารและการให้อาหารสัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
หนังสือ เอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
1.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผลการทดสอบและผลการประเมินผลงานนักศึกษา
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยในชั้นเรียน
ทวนจากคะแนนสอบ และคะแนนผลงาน 
: จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น