การออกแบบอย่างยั่งยืน

Sustainable Design

    รู้และเข้าใจทฤษฎีเกี่ยวกับแนวความคิดการออกแบบอย่างยั่งยืน การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยคำนึงถึงโครงสร้างสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวัสดุ และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย รวมถึงกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
      ศึกษาและฝึกปฏิบัติแนวความคิดของการดำเนินกิจกรรมการออกแบบและความยั่งยืน โดยคำนึงถึงโครงสร้างทางสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และมิติด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ข้อกำหนดทางด้านสิ่งแวดล้อมและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ

3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน  

2. อภิปรายกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
            ความรู้เกี่ยวกับแนวความคิดการออกแบบอย่างยั่งยืน การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยคำนึงถึงโครงสร้างสังคมไทย สิ่งแวดล้อม และข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางด้านสิ่งแวดล้อม
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล  หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการออกแบบผลิตภัณฑ์และสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอย่างยั่งยืน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.   
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
           6.1.1 มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
           6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
           6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
            6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
            6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
            6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
           6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
           6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
           6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.1, 6.3.2, 6.3.3 การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 5% 30% 25%
3 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กิตติภูมิ  มีประดิษฐ์. มนุษย์อุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์เอส อาร์ พริ้นติ้ง, 2542.
2. เกษม  จันทร์แก้ว. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
3. คณะทำงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมทางเลือก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมทางเลือก. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี,                   
               2539.
4. ชาญณรงค์  พรรุ่งโรจน์. การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์, 2543.
6. ดลต์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร
               ลาดกระบัง, 2528
8. ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2544.
9. นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
10. พิชิต  เลี่ยมพิพัฒน์. พลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 10.  ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พานิชย์, 2536.
15. มหาวิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ชุดวิชากฎหมายเอกสารการสอนสิ่งแวดล้อม หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 5. สุโขทัย : โรง 
                พิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533.
16. มีชัย  วรสายัณห์. มนุษย์และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2535.
17. ศิริวรรณ  เสรีรัตน์. การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมในทัศนของนิสิต/นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตใน
                  สถาบันอุดมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.  กรุงเทพฯ : วิสิทธิ์พัฒนา, 2539.
19. สยาม  อรุณศรีมรกต, วรพร  สังเนตร. การศึกษาทัศนคติที่มีต่อระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14000. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
23. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. คู่มือเลือกซื้อผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อสิ่งแวดล้อม. ม.ป.ท. : ม.ป.ป.
24. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “ช่วยลดปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยด้วยหลัก 5 R”  วารสาร
                   สิ่งแวดล้อม. ปีที่ 7 ฉบับที่ 25, 2546 : 34.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์