การออกแบบสวนประดับ

Ornamental Gardens Design

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
 1.1 เข้าใจความหมายและลักษณะงานออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
1.2 ประเมินการประยุกต์ใช้องค์ประกอบและออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
1.3 พิจารณาเลือกรูปแบบและองค์ประกอบงานภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
1.4  มีทักษะในการประยุกต์ใช้องค์ประกอบ รูปแบบและออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
1.5 มีเจตคติที่ดีต่อการออกแบบภูมิทัศน์
เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จัก จำได้ มีความเข้าใจลักษณะงานออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก    และแหล่งผลิตจำหน่ายวัสดุและการเลือกใช้การจัดสวนในอาคารการจัดสวนในอาคารที่เป็นปัจจุบัน  รูปแบบ และการศึกษารูปแบบของงานภูมิทัศน์ขนาดเล็ก องค์ประกอบของงานภูมิทัศน์ขนาดเล็ก และการออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของสวนประดับ ประเภทของสวนประดับ องค์ประกอบของสวน และการออกแบบสวนประดับ การฝึกปฏิบัติในการออกแบบและจัดตกแต่งสวนประดับ การศึกางานสวนประดับ
ตลอดเวลาที่อาจารย์ผู้สอนว่างจากชั่วโมงสอน
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-  ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง  มีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็น
-  มีการสอดแทรกและยกตัวอย่างด้านคุณธรรมจริยธรรม  ในขณะที่สอนเนื้อหา
-  มีการกำหนดกฎกติกามารยาทในชั้นเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา การเข้าเรียนสม่ำเสมอ
-  สอนให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
ใช้วิธีการสังเกต จาก
    - การเข้าเรียนตรงเวลา
    - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
   - ไม่ทุจริตในการสอบ
   -ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-  ใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
-  มีการบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง ยกตัวอย่างประกอบ  ศึกษาจากการสืบค้นด้วยตนเอง จัดทำรายงาน  ตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และวิจารณ์
1. การนำเสนองาน
       - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ข้อสอบอัตนัย
        - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกตีความ
4.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
5. การเขียนบันทึกผลการปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  ฝึกให้บรรยายความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
-  มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลการทำงานในชั้นเรียน
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
1. ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ
2. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกวิเคราะห์ปัญหาและฝึกตีความ
3.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
4. การประเมินตนเอง
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเ
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์
-  มอบหมายงานกลุ่ม ให้นักศึกษาทำงานเป็นทีม
-  จัดกิจกรรมเสริมทั้งในและนอกชั้นเรียน
1. การสังเกตุ
2. การประเมินตนเอง
3. การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  มอบหมายงานมอบหมายที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ  เช่น  การสำรวจ วิเคราะห์ และวางแผนการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ชุมชน
-  สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น MS Word และ MS PowerPoint ในการจัดทำรายงานและนำเสนอรายงาน
-  ใช้สื่อและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประการการสอน เช่น โปรแกรม MS Word และ MS PowerPoint  มีการนำเสนองานกลุ่ม พร้อมข้อเสนอแนะ  เพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาอย่างถูกต้อง และชัดเจน
-  มีการมอบหมายงาน โดยการค้นคว้าด้วยตนเองจากตำรา วารสาร เอกสารวิชาการ หรือ ทางอินเตอร์เน็ต 
- เนื้อหาที่นำเสนอ  
- ภาษาที่ใช้          
-การตอบคำถาม
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ,1.2 ,1.3 ,1.4 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - สังเกตพฤติกรรมระหว่างการปฏิบัติงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมายและการปฏิบัติงานในสภาพจริง 1-17 5%
2 . ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค - งานภาคปฏิบัติในชั่วโมงเรียน 9 18 2-17 10% 10% 40%
3 1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ 2.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3,5,9,12,13,15 25๔
1.  ขวัญชัย   จิสำรวย.  2536   การออกแบบเขียนแบบจัดสวน  กรุงเทพฯ. : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.  
          2.  ชัยยุทธ   ยะวิญชาญ  2539  เอกสารประกอบการสอนวิชา 03-132-318  การออกแบบและวางผังจัดสวน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ(น่าน) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
          3.  ชวลิต   ดาบแก้ว.  2527   การเขียนภาพPERSPECTIVE(ทัศนวิทยา).  กรุงเทพฯ.  :  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์  
          4.  ศิริชัย   หงส์วิทยากร.  2532  เอกสารประกอบการสอนวิชา ภท. 301  ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น.  ภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  คณะผลิตกรรมการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้  เชียงใหม่
5.  สมจิต   โยธะคง.  2535  การวางผังตกแต่งบริเวณ.  พิมพ์ครั้งที่ 2  กรุงเทพฯ. : อมรการพิมพ์
          6.  เอื้อมพร   วีสมหมาย.  2527  หลักการจัดสวนเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3  กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์อักษรวิทยา. 
1.  กองบรรณาธิการบ้านและสวน.  2525  สารานุกรมไม้ประดับในประเทศไทย  เล่ม 1-3 .  กรุงเทพฯ. : อัมรินทร์การพิมพ์.
          2.  จักรผัน   อักกพันธานนท์.  2529  หลักการออกแบบตกแต่งบริเวณ.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพฯ. : ไทยวัฒนาพานิช.
          3.  เดชา   บุญค้ำ. ม.ป.ป.  2525  การปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม.  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
          4.  พรรณเพ็ญ   ฉายปรีชา.  2537  การจัดสวน.  กรุงเทพฯ. : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
          5.  สิน   พันธุ์พินิจ.  2535  การจัดการสนามหญ้า. กรุงเทพฯ. : อักษรพิทยา.
          6.  สุนทร   ปุณโณทก.  2522  ไม้ดอกไม้ประดับและการตกแต่งสถานที่.  กรุงเทพฯ. : สำนักพิมพ์ภาษิต.
7.  อภัย  ผะเดิมชิต. 2525  การออกแบบวางผังบริเวณและสวนสาธารณะ.  เอกสารโรเนียวการอบรมการวางผังและตกแต่งสวน  วิทยาเขตอุเทนถวาย  กรุงเทพฯ. : กระทรวงศึกษาธิการ
8.  เอื้อมพร   วีสมหมาย.  2527  สวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ.  กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์อักษรวิทยา.
          9.  เอื้อมพร   วีสมหมาย.  2530  หลักการจัดสวนในบ้าน.  กรุงเทพฯ. : บริษัท โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์จำกัด. 
ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เวปไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสอย
            ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่  วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน  สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้  และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน   หรือจากการสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน  และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน  จากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน  นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน  เข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน  หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน   ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา  เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษา  และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ   และความเหมาะสมของการให้คะแนน  โดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาของหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  โดยพิจารณาจากผลประเมินการสอนโดยนักศึกษา,    ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา,  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน     หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน  และกลยุทธ์การสอนที่ใช้  และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา   เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็น  และสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอ   สาขาวิชา/คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป