ปฏิบัติการชีวเคมีทางการเกษตร

Agricultural Biochemistry Laboratory

1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์พื้นฐานและเทคนิคต่างๆ ทางชีวเคมี
1.2 มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างของสารชีวโมเลกุล
1.3 มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์สมบัติของสารชีวโมเลกุล
1.4 มีทักษะเกี่ยวกับการแยกสารชีวโมเลกุล
1.5 พัฒนาทักษะและจิตพิสัย ในการปฏิบัติงานด้านการทดลองอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการปฏิบัติการทางชีวเคมีทางการเกษตร เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ต่อไป ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆ ทางเคมี เพื่อใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่ม เฉพาะรายที่ต้องการ หรือผ่านทางระบบการสื่อสารออนไลน์
 
 
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) ชี้แจงและตกลงเกณฑ์ต่างๆ และวิธีการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก
2) ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3) ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนปฏิบัติการตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานผลการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4) ประเมินผลจากรายงานบันทึกผลการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการที่มอบหมาย
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) มอบหมายงานทำปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม
2) ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายบทและให้ไปค้นคว้าเพิ่มเติมในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
3) การฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
1) สอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบและสอบปากเปล่า
2) ประเมินจากประสิทธิผลของการค้นคว้าเพิ่มเติมในรายงานบันทึกผลการทดลอง
    แต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
3) ประเมินจากการมีส่วนร่วมทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) ให้แสดงความคิดเห็นและอภิปรายผลการทดลองร่วมกันในชั้นเรียน
2) การฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยข้อสอบเน้นการใช้สถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น ขณะทำทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วย
    ปฏิบัติการ
 2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3) รายงานบันทึกผลการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
                1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
                2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) มอบหมายงานกลุ่มให้ทำปฏิบัติการทดลองและกําหนดวามรับผิดชอบของ
   นักศึกษาแต่ละคนในการทํางานกลุ่มอย่างชัดเจน
2) ให้แสดงความคิดเห็นและอภิปรายผลการทดลองร่วมกันในชั้นเรียน
3) จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนเพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่าง
   ผู้เรียนด้วยกัน และบุคคลภายนอก
1) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
2) สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมทั้งในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยใช้สื่อการสอนชนิดต่าง ๆ หรือสื่อ
ออนไลน์อย่างเหมาะสม
คุณภาพการจัดทำรายงานบันทึกผลการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ
 
               
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 20000303 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 2.1, 3.2, 5.3 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 8 และ 17 25% และ 25%
2 1.1-1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 5.1-5.3 - การส่งงานตามที่มอบหมาย - รายงานผลการทดลองปฏิบัติการ ตลอดภาค และ การศึกษา 40%
3 1.1-1.4, 2.1, 2.3, 3.2, 4.1-4.4, 5.3 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม - ทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละ รายหน่วยปฏิบัติการ ตลอดภาค การศึกษา 10%
1) วาสนา  สิงห์ดวง (2558) ปฏิบัติการชีวเคมีทางการเกษตร. พิมพ์ครั้งที่ 2: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
2) พิศ จินดาวนิค  (2524) ชีวเคมีคลินิก. เล่ม 1: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
3) คณาจารย์ภาควิชาชีวเคมี. ตำราปฏิบัติการชีวเคมีเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุงแก้ไข). คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ, 248 หน้า
1) นิโลบล เนื่องตันและคณะ (2542)  ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2) มนตรี จุฬาวัฒนฑลและคณะ (2542)  ชีวเคมี  ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
3) คณาจารย์ (2545) ปฏิบัติการชีวเคมี. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก.
4) McKee, T. (1996)  Biochemistry; an Introduction, 1st ed,  A Time Mirror Company, USA
5) Roskoski, R. (1996) Biochemistry, 1st ed,  W.B. Saunders Company, USA
6) Voet, D.  (2004) Biochemistry, 3nd ed,  Wiley International Edition, USA
1) ดาวัลย์ ฉิมภู่ ชีวเคมี สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  (2549) พิมพ์ครั้งที่ 2
2) Devlin, TM. (1997)  Biochemistry with clinical correlations, 4th ed,  Wiley-Liss, New York
3) Marks, DB. (1997) Basic Medical Biochemistry; a clinical approach, 1st ed,  William and Wilkins Company, USA
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นิสิตประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิด
    วิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา หรือฝึกอบรม  เพื่อพัฒนาและวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
- ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
- ทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานมอบหมายของผู้เรียน
การทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา

อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและอุปกรณ์สื่อการสอนที่ใช้ให้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย