การผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม

Jewelry Industrial Production

รู้ความหมายความสำคัญของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร กระบวนการผลิตเครื่องประดับ

ในระบบอุตสาหกรรม
1.2 เข้าใจ กระบวนการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
1.3 ปฏิบัติงานการออกแบบเครื่องประดับเพื่อการผลิตในระบบอุตสาหกรรม
1.4 ปฏิบัติงานการทำต้นแบบโลหะ และต้นแบบแว็กซ์
1.5 ปฏิบัติงานการทำแม่พิมพ์ยางและการหล่อตัวเรือน
1.6 ปฏิบัติงานการเจียระไนอัญมณี
1.7 ปฏิบัติงานการประดับอัญมณี
1.8 ปฏิบัติงานการชุบเคลือบผิว
1.7 เห็นคุณค่าของการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
 
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา กระบวนการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม สำหรับสอนนักศึกษาวิชาเอกออกแบบเครื่องประดับ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม ตั้งแต่การออกแบบ การอ่านคำสั่งผลิต การทำต้นแบบและวิเคราะห์ลักษณะต้น แบบที่เหมาะสม การหล่อตัวเรือน การประดับอัญมณี การชุบเคลือบผิวและการ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องประดับ
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีคุณธรรม  จริยธรรม ต่อการการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
1.2 มีศักยภาพในการค้นคว้าและพัฒนาตนเอง
1.3 มีคุณธรรม  จริยธรรม  รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
1.4 ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ
บรรยายและสอดแทรกเนื้อหาเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและ

ทางด้านวิชาชีพ ซึ่งจรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สำคัญในการประกอบวิชาชีพ
ประเมินผลจากการสอบถามในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการ

สอบ
2.1 มีความรู้  ความสามารถในการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย ทำงานกลุ่ม นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สรุปผล
2.3 วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
2.2.1   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา โดยการใช้สไลด์ ภาพนิ่งและ วีดิทัศน์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจตามเนื้อหาในรายวิชา
     2.3.1   ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนทั้งสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญาต้องพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ ในการการผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
3.2 ทักษะทางปัญญาเกิดจากการสอน บรรยาย อภิปรายกลุ่ม การศึกษาจากภาคอุตสาหกรรม และการทำรายงาน
3.3 ทักษะทางปัญญาเกิดได้จากการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
3.2.1  มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเอกสารทางวิชาการ งานวิจัย กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้อง
3.3.1  ประเมินผลจากการสอบถามในห้องเรียน
3.3.2  ประเมินผลจากการคิดวิเคราะห์และการนำเสนองาน
4.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
         
         
4.2  วิธีการสอน จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายรายงานกลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของงาน
4.3  วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
5.1  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2  วิธีการสอน ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
5.3 วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043430 การผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ความรู้ - ทักษะทางปัญญา - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทส สอบกลางภาค การนำเสนอผลงาน, การศึกษาดูงาน สอบปลายภาค 9 16 17 10% 10% 10%
2 - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การส่งงาน การปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 ด้านคุณธรรมจริยธรรม จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือ
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้การผลิตเครื่องประดับในระบบอุตสาหกรรม3.
- วารสาร เครื่องประดับและอัญมณี
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้เครื่องประดับและอัญมณี
แบบประเมินรายวิชาของหลักสูตร
- การสังเกตการณ์
- ผลการเรียนและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การศึกษาดูงานกระบวนการผลิตนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจาก
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4