จุลชีววิทยาทั่วไป
General Microbiology
1.1 เข้าใจความสำคัญและวิธีการศึกษาทางจุลชีววิทยา
1.2. รู้และเข้าใจสัณฐานวิทยา และโครงสร้างของแบคทีเรีย
1.3. รู้และเข้าใจการสืบพันธุ์ การเจริญเติบโตและการควบคุมของแบคทีเรีย
1.4. รู้และเข้าใจการดำรงชีพ เมทาบอลิซึมของแบคทีเรีย
1.5. รู้การจำแนกแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซียและแคลมัยเดีย
1.6. รู้และเข้าใจโรคและภูมิคุ้มกัน
1.7. ประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้สอดคล้องกับวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
1.2. รู้และเข้าใจสัณฐานวิทยา และโครงสร้างของแบคทีเรีย
1.3. รู้และเข้าใจการสืบพันธุ์ การเจริญเติบโตและการควบคุมของแบคทีเรีย
1.4. รู้และเข้าใจการดำรงชีพ เมทาบอลิซึมของแบคทีเรีย
1.5. รู้การจำแนกแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซียและแคลมัยเดีย
1.6. รู้และเข้าใจโรคและภูมิคุ้มกัน
1.7. ประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้สอดคล้องกับวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจทางด้านจุลชีววิทยา เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ด้วยวิทยาการเทคโนโลยีปัจจุบันได้มีความก้าวหน้าตลอดเวลา จึงควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องตามยุคสมัยและทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
ความสำคัญและวิธีการทางจุลชีววิทยา สัณฐานวิทยา และโครงสร้างของแบคทีเรีย การจำแนกแบคทีเรีย การดำรงชีพและเมทาบอลิซึมของแบคทีเรีย การเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซียและแคลมัยเดีย โรคและภูมิคุ้มกัน จุลชีววิทยาประยุกต์
Importal and Microbiology Techniques, Morphology and Bacterial Classification, Living and Metabolism of Bacteria, Growth and Reproduction of Bacteria, Fungi, Virus, Rickettsia and Clamydia, Diseases and Immunity, Applied microbiology
Importal and Microbiology Techniques, Morphology and Bacterial Classification, Living and Metabolism of Bacteria, Growth and Reproduction of Bacteria, Fungi, Virus, Rickettsia and Clamydia, Diseases and Immunity, Applied microbiology
-
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) การกำหนดข้อตกลงกฎเกณฑ์ร่วมกัน เช่น การแต่งกาย อุปกรณ์การเรียน การกำหนดเกณฑ์คะแนน และการให้เกียรติอาจารย์
2) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
2) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
1) ให้คะแนนจิตพิสัยด้าน เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์การเรียนครบ
2) สังเกตพฤติกรรมในการเรียนและการทำงานมอบหมาย
3) ติดตามถึงผลสัมฤทธิ์ของงาน ไม่มีการทุจริตในการสอบ
2) สังเกตพฤติกรรมในการเรียนและการทำงานมอบหมาย
3) ติดตามถึงผลสัมฤทธิ์ของงาน ไม่มีการทุจริตในการสอบ
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและแนวทางปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) บรรยาย และอภิปราย
2) มอบงานให้โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษามีการสืบค้น บทความ ข่าว สาระเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์
2) มอบงานให้โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษามีการสืบค้น บทความ ข่าว สาระเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค
2) ประเมินจากประสิทธิผลของการค้นคว้ารายงาน
2) ประเมินจากประสิทธิผลของการค้นคว้ารายงาน
1) มีทักษะการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) บรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา หรือผลงานวิจัยที่แสดงให้เห็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจุล
ชีวิทยา
2) มอบหมายงานค้นคว้า ที่แสดงถึงการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจุลชีววิทยา
ชีวิทยา
2) มอบหมายงานค้นคว้า ที่แสดงถึงการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจุลชีววิทยา
1) การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) กำหนดงานให้ทำเป็นกลุ่ม
1) ประเมินตนเองและเพื่อนจากกระบวนการทำงาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) มอบหมายงานการค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการส่งงาน ติดต่อการเรียนการสอน ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์
1) ตรวจงานที่มอบหมาย รวมไปถึงการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์เพื่อการค้นคว้าข้อมูล
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1-2.3 | - ทดสอบย่อย - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค | ระหว่างเรียน 9 17 | 10% 40% 20% |
2 | 2.1 - 2.3, 3.1- 3.2, 5.1 | - รายงาน งานค้นคว้า และนำเสนอในห้องเรียน | ตลอดภาค การศึกษา | 20% |
3 | 1.1-1.3, 4.1-4.2 | - การเข้าชั้นเรียน ความสนใจร่วมมือในการเรียน - กิจกรรมส่วนกลาง และพฤติกรรมของนักศึกษา | ตลอดภาค การศึกษา | 10% |
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
1) นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ. 2541. จุลชีววิทยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ, 735 น.
2) ยุพา ผึ้งน้อย. 2542. จุลชีววิทยาทั่วไป. โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎนครราชสีมา
3) Lansing M. Presscott, John P. Harley, Donald A. Klein. 1999. Microbiology. 4 ed. The McGraw-Hill Companies, Inc., U.S.A., 932 p.
4) Tortora, G. J., Funke, B. R. and Case, C. L. 1997. Microbiology : an introduction. California:
Addison Wesley Longman, Inc.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
วารสารงานวิจัย รายงานวิจัย เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการ
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
วารสารงานวิจัย รายงานวิจัย เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการบรรยาย
1) นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ. 2541. จุลชีววิทยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ, 735 น.
2) ยุพา ผึ้งน้อย. 2542. จุลชีววิทยาทั่วไป. โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎนครราชสีมา
3) Lansing M. Presscott, John P. Harley, Donald A. Klein. 1999. Microbiology. 4 ed. The McGraw-Hill Companies, Inc., U.S.A., 932 p.
4) Tortora, G. J., Funke, B. R. and Case, C. L. 1997. Microbiology : an introduction. California:
Addison Wesley Longman, Inc.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
วารสารงานวิจัย รายงานวิจัย เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการ
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
วารสารงานวิจัย รายงานวิจัย เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการบรรยาย
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์
2.1 การสังเกตการณ์โดยผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3.1 การประชุมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบคะแนนโดยกลุ่มอาจารย์ในสาขา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
5.2 ค้นคว้า มอบงาน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.2 ค้นคว้า มอบงาน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ