หลักการเขียนแบบ
Principle of Drafting
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
⬤ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
ด้านความรู้
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ⬤ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ด้านทักษะทางปัญญา
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ⬤ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ วิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ⬤ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
⬤ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาหรับงานศิลปกรรม
ด้านทักษะพิสัย
⬤ มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
⬤ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
ด้านความรู้
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ⬤ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ด้านทักษะทางปัญญา
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ⬤ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ วิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ⬤ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
⬤ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาหรับงานศิลปกรรม
ด้านทักษะพิสัย
⬤ มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
รู้ เข้าใจและมีทักษะการใช้เครื่องมืออุปกรณ์เขียนแบบ การใช้เส้นสัญลักษณ์ต่างๆ ในการ เขียนแบบ การเขียนภาพฉาย ภาพสามมิติ และภาพตัด
เพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของการฝึกฝนทักษะในเรื่องของการใช้เส้น ทัศนียภาพแบบต่างๆ และ ภาพในมุมตัดเข้ามา เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนและปฏิบัติงานได้อย่างชำนาญ
เพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของการฝึกฝนทักษะในเรื่องของการใช้เส้น ทัศนียภาพแบบต่างๆ และ ภาพในมุมตัดเข้ามา เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนและปฏิบัติงานได้อย่างชำนาญ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ การกำหนด ขนาดและ มาตราส่วนการใช้เส้นและสัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแบบ ภาพฉาย ภาพตัด ภาพ สามมิติ
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
⬤
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
✓
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
1.1,1.2
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
✓
ฝึกปฏิบัติ
1.1,1.2
✓
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
1.1,1.2
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
✓
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
1.1,1.2
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
✓
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
1.1,1.2
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
✓
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1.1,1.2
✓
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1.1,1.2
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
⬤
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
✓
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
2.2, 2.4
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
✓
ฝึกปฏิบัติ
2.2, 2.4
✓
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
2.2, 2.4
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
✓
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
2.4
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
✓
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
2.2
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
✓
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
2.2, 2.4
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ
สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
⬤
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ วิชาชีพได้
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
บรรยาย
✓
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
3.2, 3.3
✓
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
3.2, 3.3
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
✓
ฝึกปฏิบัติ
3.2, 3.3
✓
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
3.2, 3.3
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
✓
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
3.2, 3.3
✓
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
3.2, 3.3
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
✓
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
3.2, 3.3
✓
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
3.2, 3.3
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
⬤
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
✓
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
4.2
✓
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
4.2
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
ฝึกปฏิบัติ
✓
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ
4.2
✓
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.2
✓
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
4.2
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
✓
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
4.2
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
4.2
✓
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
4.2
⬤
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาหรับงานศิลปกรรม
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
✓
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
5.1, 5.3
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
✓
นำเสนอข้อมูล
5.1, 5.3
สาธิต/ดูงาน
ฝึกปฏิบัติ
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
✓
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
5.1, 5.3
✓
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
5.1, 5.3
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
⬤
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
บรรยาย
✓
มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
6.1
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
สาธิต/ดูงาน
✓
ฝึกปฏิบัติ
6.1
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
✓
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
6.1
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
✓
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
6.1
ประเมินจากการสอบปากเปล่า
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BAACC401 | หลักการเขียนแบบ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.2, 2.4 | "สอบกลางภาค สอบปลายภาค" | "9 18" | "15% 15%" |
2 | "1.1,1.2 3.2, 3.3, 4.2, 5.1, 5.3, 6.1" | "การปฏิบัติงานและผลงาน " | "ตลอดภาคการ ศึกษา " | "50% 10%" |
3 | 2.2, 2.4 | "การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด" | "ตลอดภาคการ ศึกษา" | "10%" |
ชวลิต ดาบแก้ว. ทัศนีวิทยา (PERSPECTIVE). พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
ทวีป สันติอาภรณ์. หลักการเขียนแบบเบื้องต้น. เอกสารการสอน สาขาการออกแบบ
คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ธัญญาลักษณ์ ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ
วิชัย โรมไธสง. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วังอักษร
สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
ทวีป สันติอาภรณ์. หลักการเขียนแบบเบื้องต้น. เอกสารการสอน สาขาการออกแบบ
คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ธัญญาลักษณ์ ก้องสมุท. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ
วิชัย โรมไธสง. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วังอักษร
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา Basic Draftin
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานจากการปฏิบัติของนักศึกษา
2.2 ผลงานจากการปฏิบัติของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ ย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ