การผลิตโคนม

Dairy Cattle Production

  1.เพื่อพัฒนาความรู้ทางด้านการเลี้ยงโคนมในเขตร้อนชื้นให้ทันสมัยและสอดคล้องกับการนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้
      2.เพื่อพัฒนาทางด้านทักษะและให้มีความสามารถด้านการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการการเลี้ยงโคนมให้เกิดความมั่นใจในการประกอบอาชีพ
      3.พัฒนาทัศนคติในวิชาชีพการเลี้ยงโคนม
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ทางด้านการเลี้ยงโคนมเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหา ในการนำความรู้ความเข้าใจทักษะต่างในการจัดการเลี้ยงโคนนมและเทคโนโลยีใหม่ที่เกี่ยวข้องมาเป็นตัวอย่างอ้างอิง ให้ก้าวหน้าทันกับการเปลี่ยนแปลง


 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพการผลิตโคนมภายในประเทศ พันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการทั่วไป เกี่ยวกับการเลี้ยงโคนม อาหารและการให้อาหาร โรงเรือนและอุปกรณ์ โรคและพยาธิโคนม รวมถึงการสังเคราะห์และการตรวจสอบน้ำนม
 -  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม ตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์(เฉพาะในรายที่ต้องการ)
-  นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง E-Mail  Address  : Wanchart.s @hotmail.com / 081-961-2938
       มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพเกษตร มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคมสิ่งแวดล้อม
 1.2.1  ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในเนื้อหาบทเรียนต่างๆ
       1.2.2  ให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมายด้วยตนเองและส่งภายในที่กำหนดโดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มา โยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
       1.2.3  ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
       1.3.1    ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลาที่มอบหมาย การร่วมกิจกรรม และการฝึกภาคปฏิบัติ
       1.3.2    ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
       1.3.3    ประเมินจากการรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
       1.3.4   ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
      2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางการเลี้ยงสัตว์พื้นฐานโดยเฉพาะหลักการเลี้ยงสัตว์
      2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฏีและปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
      2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายและให้นักศึกษามีความรู้ในบทเรียนให้เพิ่มเติมโดยการแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่ม
      2.2.2 อภิปรายเป็นขั้นตอนและเปิดโอกาสให้ซักถาม
      2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติในแต่ละหน่วยเรียน ซึ่งสอดคล้องกับภาคทฤษฎีและจัดทำรายงานประกอบในแต่ละบทเรียน รวมถึงการฝึกทักษะในการจัดการการเลี้ยงโคนมในภาคนอกเวลาวันละ 1.30 ชั่วโมงเป็นระยะเวลา 30 วัน
     2.3.1   การสอบกลางภาค สอบปลายภาค
    2.3.2   ประเมินจากการทำรายงานในแต่ละชั่วโมงการปฏิบัติการ
    2.3.3  ประเมินจากการนำเสนอในชั้น เรียน
    3.1.1 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเมินต่าง ๆ ได้
    3.1.2 สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านการเลี้ยงและการจัดการโคนมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     3.2.1   ให้นักศึกษาระดมสมองแสดงความคิดเห็น ทั้งเป็นรายบุคคลและราย 3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
     3.2.2   ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติของจริงภายในฟาร์ม
     3.2.3   ให้นักศึกษามีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
    3.3.1   การรวมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
    3.3.2   พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
    3.3.3   การสรุปความคิดรวบยอดของแต่ละหน่วยเรียน
    3.3.4  การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
   4.1.1   สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
   4.1.2   มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและในการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
   4.2.1   จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
   4.2.2   มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวหน้าด้านต่าง ๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
   4.2.3   กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานจากของจริงภายในฟาร์ม
   4.3.1   การรวมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
   4.3.2  พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
   4.3.3   พิจารณาจากพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละบุคคล รวมถึงพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
   5.1.1   มอบหมายงานโดยการสืบค้น โดยการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศ พร้อมทั้งสื่นสารด้วยเครื่องทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1  มีการนำเสนองานเดี่ยว พร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อเน้นให้นักศึกษาค้นคว้า และสื่อสารด้วยสารเทศและใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจน และกระชับ
5.2.2   ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากเอกสารหรือวารสารเทคโนโลยีใหม่ที่เกี่ยวข้อง
5.3.1   ประเมินจากภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3.2   ประเมินจากการมีการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบด้วยเครื่องมือสารสนเทศ
6.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
6.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำนม
6.3 มีทักษะในการตรวจ
- อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
- อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
-  สาธิตและแนะนำทักษะการปฏิบัติ กำชับการควบคุมระหว่างกระบวนการปฏิบัติ และมีการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน
มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามขั้นตอน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,2.1, 2.2,3.1,3.2, 4.1,4.2,4.3, 5.1,5.1,5.3 6.1,6.2,6.3,6.4,7.1,7.2,8.1,8.2,9.1,9.2,10.1,10.2,10.3,11.1,11.2,11.3 สอบกลางภาค 9,18 50%
2 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10 จากการฝึกภาคปฏิบัติในแต่ละบทปฏิบัติการ/การจัดทำรายงาน ผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 35%
3 - จากการฝึกภาคปฏิบัติงานและงานรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 - การเข้าชั้นเรียน/ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 5%
ชวนิศนดากร   วรวรรณ.  2534.  การเลี้ยงโคนม.  สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.กรุงเทพฯ
 
บุญล้อม  ชีวอิสระกุล.  2527.  โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง.  คณะเกษตรศาสตร์   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.      
       เชียงใหม่
 
ผศ.วันชาติ   สุวัตถี   วิชาการผลิตโคนม   เอกสารประกอบการสอน  สาขาสัตวศาสตร์และประมง.  คณะวิทยาศาสตร์และ
       เทคโนโลยีการเกษตร.   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ลำปาง  
สุชาติ ชัยวรกุล  2538. คู่มือการสัตวบาลโค. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วารสารสมาคมสัตวบาลแห้งประเทศไทย
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
            1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            1.3  ข้อเสนอแนะผ่านไลน์กลุ่ม  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
       2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
       2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
       2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
          3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
        ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการ 
ออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
         4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
         4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
         5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
         5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ