ระบบฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์และเซิร์ฟเวอร์

Client/Server Database System

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้หลักการของสถาปัตยกรรม องค์ประกอบ และรูปแบบของระบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์และระบบจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ สามารถออกแบบฐานข้อมูล สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ มีความรู้การควบคุมสภาวะพร้อมกัน การคืนสภาพและความปลอดภัย มีความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มในอนาคตของระบบฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของสถาปัตยกรรม องค์ประกอบ และรูปแบบของระบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ สามารถออกแบบฐานข้อมูลและเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ได้ เข้าใจหลักการของการควบคุมสภาวะพร้อมกัน การคืนสภาพและความปลอดภัย มีความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มในอนาคตของระบบฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์
แนะนาระบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ สถาปัตยกรรมของระบบจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ ระบบจัดการฐานข้อมูต่างระบบ ตัวแบบการบริการฐานข้อมูล การรวมส่วนการจัดทรัพยากรระบบปฏิบัติการ การออกแบบฐานข้อมูล การควบคุมสภาวะพร้อมกัน ความน่าเชื่อถือ การคืนสภาพและความปลอดภัย แนวโน้มในอนาคตของระบบฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ การปฏิบัติการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์และเซิร์ฟเวอร์
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลสงวนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีม 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจต่อบุคคลองค์กรและสังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน 2. กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4. มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทางาน การทางานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 3. การสังเกตพฤติกรรมในการทางานเป็นกลุ่ม
1. มีความรู้ความเข้าใจสถาปัตยกรรม องค์ประกอบ และรูปแบบของระบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ 2. มีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ 3. มีทักษะการเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติตามใบงาน 3. ฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการฐานข้อมูลแบบไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการฐานข้อมูลแลลไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์ 2. ประเมินจากผลงานการทาแบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติในห้องเรียน 3. ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้า 4. ความรับผิดชอบในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1. คิดและจาอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1. สาธิตตัวอย่างและกรณีศึกษา 2. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าทารายงานตามหัวข้อที่กาหนดให้และนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 3. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
1. สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 2. ประเมินจากงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 2. พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติตามและการทางานตามที่ได้รับมอบหมาย 2. สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
1. ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
1. พัฒนาทักษะการคิดเพื่อการออกแบบฐานข้อมูล 2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน 3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 4. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5. พัฒนาทักษะในการนาเสนอรายงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งความรู้ต่างๆ 2. นาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 2. ประเมินจากรายงาน
1. สามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ฐานข้อมูลแบบไคลแอนท์และเซิร์ฟเวอร์ 2. สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ฐานข้อมูลแบบไคลแอนท์และเซิร์ฟเวอร์
1. แสดงและฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง 2. มอบหมายงานให้นักศึกษา
1. พิจารณาจกโปรแกรมประยุกต์ฐานข้อมูลแบบไคลแอนท์และเซิร์ฟเวอร์ที่นักศึกษาพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สัปดาห์ที่ 1-3 , 1-6 , 7-10 , 7-12 สัปดาห์ที่ 1-3 ทดสอบย่อย , สัปดาห์ที่ 1-6 สอบกลางภาค , สัปดาห์ที่ 7-10 ทดสอบย่อย , สัปดาห์ที่ 7-12 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4 , 8 , 12 , 16 สัปดาห์ที่ 4 10% , สัปดาห์ที่ 8 25% , สัปดาห์ที่ 12 10% , สัปดาห์ที่ 16 25%
2 สัปดาห์ที่ 1-16 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การทางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 สัปดาห์ที่ 1-16 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การแต่งกายและความประพฤติ ตลอดภาคการศึกษา 15%
วรัฐา นพพรเจริญกุล. (2560). ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ:ท้อป. บัญชา ปะสีละเตสัง. (2557). พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นด้วย PHP ร่วมกับ MySQL และ jQuery. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น. ดวง บงกชเกตุสกุล. (2555). Any SQL. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธันยพัฒน์ วงศ์รัตน์. (2554). เรียนลัดสร้างเว็บแอพพลิเคชันด้วย PHP&MySQL ฉบับ Workshop. กรุงเทพฯ:บริษัท สวัสดีไอที จากัด.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Thaicreate, W3Schools เป็นเว็บไซต์ที่รวมรวมความรู้ ตัวอย่างการเขียนโปรแกรม การเรียกใช้งานฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของการจัดการฐานข้อมูลแบบ ไคล์แอนท์เซิร์ฟเวอร์
1. การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. การสังเกตการณ์จากการสอน 2. ผลการเรียนของนักศึกษา 3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทางาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ