โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Electronics Engineering Project

เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการวางแผนการสร้างโครงงาน ค้นคว้าหัวข้อที่มีความสัมพันธ์กับโครงงาน ออกแบบโครงงาน สร้างโครงงานตามแบบตลอดจนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวางแผนจัดทำหรือผลิตสร้างผลงานอันเกิดประโยชน์ต่อสายวิชาที่เรียนมาโดยตรง หรือต่อสังคมส่วนรวม การใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด นำผลงานเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อสอบวิชาโครงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวางแผนการสร้างโครงงาน ค้นคว้าหาข้อมูลที่ต้องการได้ สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ที่ศึกษามาเพื่อทำโครงงาน สามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตลอดจนสามารถนำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการเพื่อแสดงความสำเร็จ และประโยชน์อันพึงเกิดจากการทำโครงงานได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการวางแผนการสร้างโครงงาน ค้นคว้าหัวข้อที่มีความสัมพันธ์กับโครงงาน ออกแบบโครงงาน สร้างโครงงานตามแบบตลอดจนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการวางแผนจัดทำหรือผลิตสร้างผลงานอันเกิดประโยชน์ต่อสายวิชาที่เรียนมาโดยตรง หรือต่อสังคมส่วนรวม การใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด นำผลงานเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อสอบวิชาโครงงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มงานตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเรื่องการวางแผน การรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ การศึกษาประเด็นปัญหา
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้าง การจัดทำโครงงาน การออกแบบการทดลอง ทดสอบ การเก็บผลการทดลอง การวิเคราะห์ และสรุปผล
2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำ การเรียบเรียงเอกสารประกอบโครงงาน
2.1.4 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเสนองานต่อสาธารณะชน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การรายงานความก้าวหน้าของโครงงานหน้าชั้นเรียน การถามตอบ การมอบหมายประเด็นศึกษา
2.3.1 จากพฤติกรรม การเข้าเรียน การนำเสนอผลงาน
2.3.2 ความก้าวหน้าของงาน พัฒนาการ
2.3.3 ความสำเร็จของงาน การตอบคำถามที่แสดงถึงความรู้ความเข้าใจในงาน
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
บรรยาย การอภิปรายกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน
ประเมินจาก การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน จากโจทย์การบ้าน
1 . พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  2 . พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  3 .  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
1 . จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2 .  มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีทางด้านอิเล็กทรอนิกส์การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน หรือ อ่าน   บทความที่         เกี่ยวข้องกับรายวิชาและทำโครงงานพิเศษ  3 .   การนำเสนอผลการทอลองการปฏิบัติงาน
1 . ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  2 .  ประเมินจากงานการทดลองที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  3 .  ประเมินจากงานโครงงานการศึกษาด้วยตนเอง
1 . ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข  2 .  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน  3 .  พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา  4 .  พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5 .  ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์  6 .  ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 . มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อ       ถือ  2 .  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 .  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2 .  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีความชำนาญและทักษะในการต่อวงจร  เขียนโปรแกรม ประยุกต์ใช้ความรู้สร้างนวัตกรรม
ต่อวงจรในภาคปฏิบัติ เขียนโปรแกรม สืมค้นข้อมูล ออกแแบและสร้างโครงงานต้นแบบ
ทดสอบภาคปฏบัติโดยวิธีการดู ทดสอบผลสัมฤิทธิ์ของชิ้นงาน ตามขอบเขตของงานที่นำเสนอ โดยมีกรรมการพจารณาร่วมไม่น้อยกว่า 3 คน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ 5. วิเคราะห์เชิงตัวเลข 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 32125498 โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 – 2.5, 3.1 – 3.5, 5.1 – 5.5, 6.1 – 6.2 สอบความก้าวหน้าครั้งที่ 1 สอบความก้าวหน้าครั้งที่ 2 สอบความก้าวหน้าครั้งที่ 3 สอบผลสำเร็จโครงงาน 4 8 12 16 15% 20% 15% 40%
2 4.1 – 4.5, 6.1 – 6.2 การนำเสนอ การตอบคำถาม รูปเล่มเอกสารประกอบโครงงาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 1.1 – 1.4, 4.1 – 4.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การวิเคราะห์กรณีศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 5%
1.1 ประกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เรื่อง การดำเนินการวิชาเตรียมโครงงานและวิชาโครงงานระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2555
1.2 คู่มือปริญญานิพนธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ