กระบวนการพิมพ์สิ่งทอ

Textile Printing Process

เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการพิมพ์
การใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องจักรในการผลิต
เข้าใจการทำแม่พิมพ์และสร้างต้นแบบ
เข้าใจกระบวนการพิมพ์หลายสี
มีทักษะการพิมพ์สิ่งทอขั้นสูง
คำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมในกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
พื่อแกไข้ปัญหาการเรียนการสอน ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ความสามารถในการเตรียมและวางแผนการสอนศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติของการพิมพ์สิ่งทอพื้นฐาน กระบวนการการพิมพ์สิ่งทอ วัสดุอุปกรณ์ในงานพิมพ์สิ่งทอขั้นพื้นฐาน การสร้างต้นแบบงานพิมพ์สิ่งทอ เทคนิคการพิมพ์สิ่งทอแบบต่างๆ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การรักษาสิ่งแวดล้อมในการพิมพ์สิ่งทอ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติของการพิมพ์สิ่งทอพื้นฐาน กระบวนการการพิมพ์สิ่งทอ วัสดุอุปกรณ์ในงานพิมพ์สิ่งทอขั้นพื้นฐาน การสร้างต้นแบบงานพิมพ์สิ่งทอ เทคนิคการพิมพ์สิ่งทอแบบต่างๆ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การรักษาสิ่งแวดล้อมในการพิมพ์สิ่งทอ
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เน้นให้นักศึกษาสร้างงานโดยไม่ลอกเลียนแบบ
ให้นักศึกษาทำการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับสิทธิบัตร
กำหนดเวลาการส่งงานของนักศึกษา ให้ส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ตรวจสอบ เปรียบเทียบ ระหว่างผลงานในกลุ่มที่นักศึกษาออกแบบ สอบถามเกี่ยวกับสิทธิบัตรหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ ตรวจสอบการส่งผลงานตามกำหนดเวลา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 เน้นให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
2.1.2 เน้นให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
2.1.3 บรรยาย มอบหมายงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายพร้อมแสดงวิธีการกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
3.2.2 บรรยายพร้อมสาธิตวิธีการกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
4.1.1 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 บรรยายความสัมพันธ์ของลายทอลายถักที่มีผลต่อกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มในการหาความสัมพันธ์ของลายทอลายถักที่มีผลต่อกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
4.3.1จากการสังเกต
4.3.2 จากผลงานที่มอบหมาย
5.1ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยาย แนะนำ วิธีการสืบค้นข้อมูลใน Internet
5.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43041311 กระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งการ การเข้าชั้นเรียน 8 7 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 50% 10%
1.1 ดุษฎี สุนทราชุน.(2531).การออกแบบลายผ้าพิมพ์.กรุงเพพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์
1.2 มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด.(2541). วิทยาศาตร์สิ่งทอเบื้องต้น.กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
1.3 มนตรี เลากิตติศักดิ์.(มปม).การออกแบบลวดลายพิมพ์ผ้าด้วยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เชียงใหม่.:
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ
1.4 วิเชียร จิระกรานนท์, นงเยาว์ จิระกรานนท์.(2529).การพิมพ์ซิลค์สกรีน.กรุงเทพฯ : ธีระการพิมพ์
1.5 ศูนย์ผลิตล่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร.(2551).การพิมพ์ซิลค์สกรีน.นครปฐม : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1.6 ศิริพงศ์ พยอมแย้ม.(2530).การพิมพ์เบื้องต้น.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
1.7 อัจฉราพร ไศละสูต.(2524).คู่มือการออกแบบลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์.กรุงเทพฯ: สหประชพาณิชย์
1.8 อัจฉราพร ไศละสูต.(2539). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ
ไม่มี
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการพิมพ์สิ่งทอ
แบบประเมินผู้สอน
การสอบถามจากนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 ผลงานของนักศึกษา
2.2 การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4 การทดสอบผลการเรียนรู้
หลังจากเสร็จสิ้นการสอนในแต่ละปีการศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน
ทบทวนและปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาทุกปีการศึกษาหลังเสร็จสิ้นการสอน