การควบคุมคุณภาพอาหาร

Food Industrial Quality Control

1.1   รู้ความหมายประโยชน์และลักษณะงานของการควบคุมคุณภาพอาหาร
1.2   เข้าใจถึงคุณลักษณะคุณภาพของอาหาร
1.3   ทราบถึงการวัดคุณลักษณะคุณภาพ
1.4   ทราบถึงการควบคุมคุณภาพอาหารโดยใช้ระบบ HACCP
1.5   ทราบถึงการควบคุมคุณภาพอาหารโดยใช้ระบบ GMP
1.6   เข้าใจถึงอันตรายในอาหารและปัจจัยที่ต้องควบคุมคุณภาพ
1.7   ทราบถึงกระบวนการควบคุมคุณภาพอาหาร
1.8   รู้ถึงการควบคุมสถานที่ตั้ง อุปกรณ์ และความสะอาด
1.9   ทราบถึงการควบคุมคุณภาพในขั้นตอนการขนส่งผลิตภัณฑ์อาหาร
1.10 เข้าใจสุขลักษณะส่วนบุคคลเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในอาหาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มเติมเนื้อหาทั้งในส่วนภาคทฤษฎี  เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารในระดับประเทศ และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงในอนาคต 
ความหมาย ความสำคัญของการควบคุมคุณภาพ อันตรายจากอาหาร หลักและวิธีการควบคุมคุณภาพอาหาร ระบบการจัดการคุณภาพที่สำคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
ใช้การสอนแบบบรรยายโดยสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพอาหาร หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาเรียน หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ มีการสอนภาคปฏิบัติในแต่ละเนื้อหาทางทฤษฎีควบคู่กันไป ยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างในการควบคุมคุณภาพอาหาร

ใช้การเรียนการสอนแบบมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและฝึกให้ทำงานเป็นทีม
1.3.1  ประเมินจากความรับผิดชอบต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการส่งงาน และการเข้าชั้นเรียน
1.3.2  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสต่างๆนอกห้องเรียน ที่เกี่ยวข้อง
          ทางด้าน คุณธรรม จริยธรรม รวมถึงการมีสัมมาคารวะ ต่อผู้อาวุโส และอาจารย์
1.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมสนองจากเพื่อนในกลุ่มเรียน
1.3.4  นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1.1 รู้วิธีการเรียนรู้ และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
2.1.2 มีความรู้ในหลักการ ทฤษฎี ของเนื้อหาสาระ ในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สามารถนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ จำแนกข้อเท็จจริงขององค์ความรู้ได้
2.2.1 การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
              2.2.2 การสอนที่ร่วมกับการเรียนรู้กระบวนการควบคุมคุณภาพ
              2.2.3 การสอนร่วมการทำรายงานเป็นรูปเล่มจากการปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน เช่น ห้องสมุด สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ และอินเตอร์เน็ต โดยนำมาสรุป และนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหา (Problem Base Learning)
2.3.1   การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2   การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการตอบสนองต่อการายงานหน้าชั้นเรียนของกลุ่มนักศึกษา
2.3.3   การทำรายงานในหัวข้อที่มอบหมาย
3.1.1  สามารถคิดวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นต่อกรณีศึกษาต่างๆ
              3.1.2  มีความเข้าใจในแนวคิด ประมวลความคิด จากองค์ความรู้ผ่านกระบวนการต่าง ๆ อย่างเป็น   
ระบบ สามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และมีวิจารณญาณ
              3.1.3  สามารถนำเนื้อหาที่เรียนมาเป็นแนวคิดในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
              3.1.4  สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์เนื้อหาการเรียนการสอนในแต่ละวิชา
3.2.1   การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Base Learning) ที่เชื่อมโยงถึงเนื้อหาการเรียนการ สอน และสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง
   3.2.2   การสอนโดยเทียบเคียงเนื้อหากับปรากฏการณ์ต่างๆจาก
              3.2.3   อาจารย์และนักศึกษาร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้และแสดงความคิดเห็นต่อเนื้อหาที่เรีย
.3.1   ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
3.3.2   การทำรายงานการควบคุมคุณภาพอาหาร
             3.3.3   การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันในการทำงานร่วมกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   ปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอน
4.2.2   มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
4.2.3   กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาในการส่งงานและรายงาน
4.3.1   ประเมินจากผลของการทำรายงาน
4.3.2   ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.3   ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
5.1.1   มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบการรวบรวมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2   สามารถคัดเลือกและค้นหาแหล่งข้อมูล
5.2.1   การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูล
5.2.2   การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.3   การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1   ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.2   ประเมินจากการทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.3   ประเมินการทำรูปเล่มรายงานจากการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทาางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 1 1 2 2 2 3 3 4 4 4 4 5 5 5
1 24054324 การควบคุมคุณภาพอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ความตั้งใจ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 9 17 5 % 5 % 20 % 20 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค โครงงาน และการนำเสนอรายงาน/ กิจกรรมกลุ่มการอภิปรายกลุ่ม และผลงานการส่งงานตามที่ได้รับ มอบหมาย 15 17 16 10% 10% 20%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร แฟ้มสะสมผลงาน 1-15 -
วราวุฒิ ครูส่ง. (2547). การประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเ
อำไพ  สงวนแวว  (2558)  เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลับเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

รายงานที่นำเสนอ ผลคะแนนปฏิบัติ และผลงานนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยหลักสูตรฯ จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
3.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
4.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
-