วัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ

Textile, Fashion and Jewelry Materials

รู้ความสำคัญวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
รู้สมบัติของวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
รู้การแบ่งและการจำแนกชนิดวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
รู้ลักษณะโครงสร้างสมบัติทางเคมีและทางกายภาพเส้นใยธรรมชาติและเส้นใยประดิษฐ์ วัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
การนำเส้นใยไปใช้ประโยชน์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชาวัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับสำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรสิ่งทอและเครื่องประดับซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับประเภทและชนิดของวัสดุทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ แหล่งที่มา การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงานทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับและการนำไปใช้ประโยชน์
ศึกษาเกี่ยวกับประเภทและชนิดของวัสดุทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ แหล่งที่มา การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงานทางด้านสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับและการนำไปใช้ประโยชน์
- นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามความต้องการ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/
สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา และจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะในห้องเรียน
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีทักษะในการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน
3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานหน้าชั้น
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมและผลงานของนักศึกษา
4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานหน้าชั้นเรียนโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 6. ทักษะพิสัย 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ104 วัสดุสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งการ การเข้าชั้นเรียน 8 7 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 50% 10%
1.1 มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด.(2541). วิทยาศาตร์สิ่งทอเบื้องต้น.กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
1.2 อัจฉราพร ไศละสูต.(2539). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ
1.3 Codina, C., 2005, The New Jewelry : Contemporary Materials & Techniques, New York,
Lark Books.
1.4 Padilla, Y.M., 2010, Bronze Metal Clay : Explore a New Material with 35 Projects, Lark
Jewelry.
1.5 Young, A., 2008, Jewellery Materials Sourcebook, London, A&C Black Visual Arts.
ไม่มี
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุสิ่งทอแฟชั่นและเครื่องประดับ