การออกแบบเครื่องประดับเทียม

Costume Jewelry Design

        ศึกษาและปฎิบัติ เกี่ยวกับความหมาย ประเภท ชนิดของเครื่องประดับเทียม ความสำคัญของเครื่องประดับเทียม ความสำคัญของเครื่องประดับเทียม ที่มีต่อเครื่องแต่งกาย การออกแบบเครื่องประดับเทียม วัสดุที่ใช้ทำเครื่องประดับเทียม ทั้งวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์ วิธีการทำเครื่องประดับเทียมรูปแบบต่างๆ โดยประยุกต์การใช้วัสดุที่หลากหลาย
เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้การเรียนการสอน มีความทันสมัยนิยม เพิ่มเติมองค์ความรู้และฝึกปฎิบัติงาน เกิดทักษะเพิ่มเติมในวิชาเรียน
ศึกษาและปฎิบัติ เกี่ยวกับความหมาย ประเภท ชนิดของเครื่องประดับเทียม ความสำคัญของเครื่องประดับเทียม ความสำคัญของเครื่องประดับเทียม ที่มีต่อเครื่องแต่งกาย การออกแบบเครื่องประดับเทียม วัสดุที่ใช้ทำเครื่องประดับเทียม ทั้งวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์ วิธีการทำเครื่องประดับเทียมรูปแบบต่างๆ โดยประยุกต์การใช้วัสดุที่หลากหลาย
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเกี่ยวกับเกณฑ์ในการศึกษาและการประเมินผลรายวิชา ในชั่วโมงแรกของการสอนภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์แจ้งและกำหนดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง    มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
         1.2.1     บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างรูปแบบต้นแบบ เครื่องประดับเทียม
              1.2.2     กำหนดให้นักศึกษาเรียนตาม เนื้อหาตามหลักสูตรและศึกษาเนื้อหานอกชั้นเรียนหรือนอกสถานที่เกี่ยวกับรูปแบบเครื่องประดับเทียม
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  ผลงานทำต้นแบบเครื่องประดับเทียม ด้วยวัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์
 
         2.1.1  ความรู้การขึ้นต้นแบบเครื่องประดับเทียมด้วยวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์
              2.1.2  ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการขึ้นต้นแบบเครื่องประดับเทียม
บรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เกี่ยวกับความรู้การขึ้นต้นแบบ เครื่องประดับเทียม  ให้มีความเหมือนจริง สามารถสื่อความหมายตามแบบที่ได้ออกแบบไว้
         2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้
             2.3.2 ประเมินจากงานปฏิบัติปลายภาคเรียนของผู้เรียนในการผลิตต้นแบบครื่องประดับเทียม
 
           3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
                 3.1.2  พัฒนาความสามารถในการประยุกต์ใช้ เครื่องมือ ในการ
ผลิตต้นแบบครื่องประดับเทียม
สอนแบบบรรยาย โดยใช้รูปภาพประกอบ และ ตัวอย่างผลิตต้นแบบครื่องประดับเทียม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีเน้นการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เครื่องมือ
3.3.2   วัดผลจากงานปฏิบัติปลายภาคเรียนทั้งการวาดรูปด้วยมือ และ เขียนบรรยายขั้นตอนการปฎิบัติงานเครื่องประดับเทียม
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
มอบหมายงานรายบุคคล
ประเมินตนเอง และเพื่อน อาจารย์ผู้สอน
ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยผลงานต้นแบบเครื่องประดับที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษา
สอนโดยใช้ทักษะ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยผลงานต้นแบบเครื่องประดับที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043049 การออกแบบเครื่องประดับเทียม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน -ความรับผิดชอบ -การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณภาพผลงานจากการปฏิบัติทั้งในชั้นเรียนและนอกสถานที่ ตลอดภาคการศึกษา 60 %
3 ด้านความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 17 15 % 15 %
  
   1.1   มาณพ ถนอมศรี.ศิลปะสำหรับครู.กรุงเทพฯ : หจก เอมี่ เทรดดิ้ง, 2546.
   1.2  วัฒนะ จูฑะวิภาต.การออกแบบเครื่องประดับ.กรุงเทพฯ : ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค จำกัด, 2545.
   1.3  ศศิธร ชุมแสง พอล.จิวเวลรี่ดิไซน์. กรุงเทพฯ :โอ เอส พริ้น ติ้งเฮ้าส์, 2549.
นิตยสารเครื่องประดับ
3.1 เว็บไซต์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งหนังสือรูปแบบเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ
          3.2 ข้อมูลจากสถานที่จริง เช่น พิพิธภัณฑ์ กลุ่มโอทอป กลุ่มวิสาหกิจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  คือการจัดสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์