ระเบียบวิธีวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
Research Methodology in Art and Creative Design
1. รู้ความหมาย ความสำคัญของการวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
2. เข้าใจระเบียบวิธีและขั้นตอนการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
3. เข้าใจการกำหนดวิเคราะห์และสังเคราะห์ปัญหา สร้างกรอบแนวคิดในการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
4. มีทักษะในการเขียนโครงร่างการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล และ การนำเสนองานวิจัย
5. 5. ตระหนักและเห็นคุณค่าในการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
2. เข้าใจระเบียบวิธีและขั้นตอนการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
3. เข้าใจการกำหนดวิเคราะห์และสังเคราะห์ปัญหา สร้างกรอบแนวคิดในการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
4. มีทักษะในการเขียนโครงร่างการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล และ การนำเสนองานวิจัย
5. 5. ตระหนักและเห็นคุณค่าในการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ต่อยอดในกระบวนการทำวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ มีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี มีความสามารถในการกำหนดวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน การหาวิธีที่แก้ปัญหาด้วยการวิจัยหรือใช้ผลงานวิจัยหรือใช้ผลงานวิชาการหรือผลงานวิชาชีพ มาแก้ปัญหาอย่างมีระบบมีขั้นตอน แสดงความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือช่วยในการแก้ปัญหา มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและถ่ายทอดความรู้ได้อย่างเหมาะสม สามารถนำผลวิจัยไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพได้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในวิชา ทำวิทยานิพนธ์ด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ รวมถึงการพัฒนาองค์กรที่นักศึกษาทำงาน การเตรียมพร้อมที่จะเป็นนักวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ในหน่วยงานหรือในสถานประกอบการที่นักศึกษาเข้าไปทำงานหลังจากจบการศึกษา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ หลักและวิธีการวิจัยทางด้านงานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ สภาพปัญหาทางศิลปะและการออกแบบ โครงร่างงานวิจัย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สืบค้นข้อมูล การกำหนดตัวอย่างและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และการวิจารณ์ผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การนำเสนอในการประชุมวิจัยและการเขียนบทความวิจัยในวารสารวิชาการ
A study and practice of fundamental and methodological research through art and creative design by analyzing problems of art and design, simplification and information collecting, information analysis, interpretation and criticize the research, representation and publishing in journal
A study and practice of fundamental and methodological research through art and creative design by analyzing problems of art and design, simplification and information collecting, information analysis, interpretation and criticize the research, representation and publishing in journal
แจ้งให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ทาง ไลน์ ทาง email address ของอาจารย์ผู้สอน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 มีกิจกรรม active learning ในชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติให้มีทักษะในการส่งงานทางอีเมล์ ที่เน้นการซื่อสัตย์และตรงเวลา ทำงานที่มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
ฝึกปฏิบัติให้มีทักษะในการส่งงานทางอีเมล์ ที่เน้นการซื่อสัตย์และตรงเวลา ทำงานที่มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานที่ให้และตรงเวลา
การส่งงานในสื่อออนไลน์ ซึ่งผู้สอนตรวจสอบได้จากระบบ
1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ผู้เรียนประเมินผลตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
การส่งงานในสื่อออนไลน์ ซึ่งผู้สอนตรวจสอบได้จากระบบ
1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ผู้เรียนประเมินผลตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
นักศึกษาจะมีความรู้เกี่ยวกับการทำงานวิจัยด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ปัญหาในการทำวิจัย การสร้างกรอบคิดในการวิจัย การสืบค้นข้อมูลเพื่อการออกแบบ การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การเขียนโครงร่างวิจัยและการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม การทำงานวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การนำผลงานวิจัยไปใช้ในสร้างสรรค์งาน หรือแก้ปัญหา วิธีการนำเสนอผลงานวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเขียนบทความวิจัย และ การเผยแพร่งานวิจัย การนำเสนองานวิจัยและ การจัดแสดงผลงานวิจัย
ใช้วิธีการสอน research based learning กิจกรรมการสอนแบบ Active learning จัดทำสื่อ Digital ในรูปแบบ e-book ออฟไลน์ เป็นสื่อเสริม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความต้องการของผู้เรียน และ ผู้สอนใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้ delivery mode - Team Learning ผู้เรียนสามารถวางแผนในการเรียน Mind mapping เชื่อมโยงความรู้ ทฤษฎี ที่ได้จากการนำเสนอโดยสื่อการสอน เอกสารอ่านประกอบ ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลนำความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ใช้การสอนแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันแสวงหาความรู้
2.3.1 ใช้แบบทดสอบย่อย มีการสอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ในส่วนของงานที่มอบหมาย ประเมินจากผลงานตามสภาพจริงและประเมินจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
2.3.3 ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานของเพื่อน
2.3.2 ในส่วนของงานที่มอบหมาย ประเมินจากผลงานตามสภาพจริงและประเมินจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
2.3.3 ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานของเพื่อน
พัฒนาความสามารถในการสร้างกรอบคิดในการการทำวิจัย ความสามารถในการสืบค้นเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสำรวจหรือศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานวิจัยสร้างสรรค์และวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่สำเร็จแล้ว ความสามารถในการเขียนผังความคิด (Mind mapping) การเขียนโครงการวิจัย การทดลองทำงานวิจัยจากโครงงานที่เขียน การเขียนบทความวิจัย ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการเรียน จากสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนจัดทำ และการส่งงาน
3.2.1 Flip classroom, Think pair share และให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยี สืบค้นความรู้จากฐานข้อมูลต่างๆ เรียนรู้ด้วยตนเอง วางแผนการเรียนและการประเมินผลการเรียน การตรวจสอบผลการเรียนด้วยตนเอง ผู้สอนทำหน้าที่สรุปองค์ความรู้เพื่อความถูกต้อง
3.2.2 การมอบหมายให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลักสูตร ปฏิบัติงาน
3.2.3 มอบหมายให้ผู้เรียนฝึกสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเพื่อหากรอบแนวคิดในการทำวิจัย การศึกษาโจทย์จริงจากองค์กรหรือจากสถานการณ์ที่เป็นปัญหา แล้วนำมาเขียนเป็นโครงร่างงานวิจัย ฝึกสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การลงภาคสนามในฐานะผู้วิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และเขียนผลงานวิจัย อีกทั้งนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรมการเรียน การทำงานเป็นขั้นตอนตามระเบียบวิธีวิจัย และผู้สอนให้โอกาสผู้เรียนทำงานตามความถนัดและสามารถเรียนออนไลน์ซึ่งเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการเรียน
3.2.2 การมอบหมายให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสังเคราะห์ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลักสูตร ปฏิบัติงาน
3.2.3 มอบหมายให้ผู้เรียนฝึกสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเพื่อหากรอบแนวคิดในการทำวิจัย การศึกษาโจทย์จริงจากองค์กรหรือจากสถานการณ์ที่เป็นปัญหา แล้วนำมาเขียนเป็นโครงร่างงานวิจัย ฝึกสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การลงภาคสนามในฐานะผู้วิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และเขียนผลงานวิจัย อีกทั้งนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรมการเรียน การทำงานเป็นขั้นตอนตามระเบียบวิธีวิจัย และผู้สอนให้โอกาสผู้เรียนทำงานตามความถนัดและสามารถเรียนออนไลน์ซึ่งเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการเรียน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 สอบย่อย วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเรียนทั้งเรียนในชั้นเรียนและเรียนด้วยสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนสามารถตรวจสอบได้จากระบบ
3.3.2 สอบย่อย วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเรียนทั้งเรียนในชั้นเรียนและเรียนด้วยสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนสามารถตรวจสอบได้จากระบบ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้พูดและผู้ฟัง ผู้นำและผู้ตาม การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียน การส่งงาน มีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน การทำ e-portfolio
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้พูดและผู้ฟัง ผู้นำและผู้ตาม การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียน การส่งงาน มีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน การทำ e-portfolio
4.2.1 ให้ผู้เรียนปฏิบัติงานตามใบงาน เช่น ให้เขียนโครงร่างงานวิจัย สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยด้วยทฤษฎี ให้เขียนบทความวิชาการ
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น ให้สืบค้นงานวิจัยสร้างสรรค์ งานวิจัยทางด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม หรือทางด้านบรรจุภัณฑ์และงานกราฟิกที่ทำสำเร็จแล้วจากห้องสมุด จากฐานข้อมูลงานวิจัย สำเนาหรือดาวน์โหลดมาทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาทำวิจัยต่อยอด จัดทำเป็นไฟล์และส่งให้ผู้สอนทางอินเทอร์เน็ต
4.2.3 นำเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัย การนำเสนอโครงงานวิจัยหน้าชั้นเรียน
4.2.4 ทำกิจกรรมกลุ่มร่วมมือกัน วิเคราะห์โจทย์ที่ได้รับจากชุมชน จากสถานประกอบการ เช่น ระดมสมอง กำหนดปัญหา สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น ให้สืบค้นงานวิจัยสร้างสรรค์ งานวิจัยทางด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม หรือทางด้านบรรจุภัณฑ์และงานกราฟิกที่ทำสำเร็จแล้วจากห้องสมุด จากฐานข้อมูลงานวิจัย สำเนาหรือดาวน์โหลดมาทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาทำวิจัยต่อยอด จัดทำเป็นไฟล์และส่งให้ผู้สอนทางอินเทอร์เน็ต
4.2.3 นำเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัย การนำเสนอโครงงานวิจัยหน้าชั้นเรียน
4.2.4 ทำกิจกรรมกลุ่มร่วมมือกัน วิเคราะห์โจทย์ที่ได้รับจากชุมชน จากสถานประกอบการ เช่น ระดมสมอง กำหนดปัญหา สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน (กิจกรรมรายบุคคล และ กิจกรรมกลุ่ม)
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 ประเมินจากนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 ประเมินจากนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
5.1.2 พัฒนาทักษะในวิเคราะห์และสังเคราะห์สื่อ
5.1.3 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ การ Scan และ Upload ส่งงานทางอินเทอร์เน็ต การสนทนาในกลุ่มไลน์ ในอีเมล์
5.1.4 พัฒนาทักษะในการใช้สื่อนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.2 พัฒนาทักษะในวิเคราะห์และสังเคราะห์สื่อ
5.1.3 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ การ Scan และ Upload ส่งงานทางอินเทอร์เน็ต การสนทนาในกลุ่มไลน์ ในอีเมล์
5.1.4 พัฒนาทักษะในการใช้สื่อนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1 กิจกรรม Active learning
5.2.2 นักศึกษาทำงานตามใบงานที่มอบหมาย
5.2.3 นักศึกษานำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียนโดยใช้สื่อเป็นเครื่องมือ
5.2.4 มอบหมายให้ส่งผลงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ทางอีเมล์ของอาจารย์ผู้สอน
5.2.5 มอบหมายงานให้เรียนหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อ digital ซึ่งมีครบทุกบทเรียน ประกอบด้วย เอกสารอ่านประกอบ วิดีโอ Power point ใบงาน และ Web link ที่เกี่ยวข้อง แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะประเมินผลคะแนนให้ทราบทันที
5.2.2 นักศึกษาทำงานตามใบงานที่มอบหมาย
5.2.3 นักศึกษานำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียนโดยใช้สื่อเป็นเครื่องมือ
5.2.4 มอบหมายให้ส่งผลงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ทางอีเมล์ของอาจารย์ผู้สอน
5.2.5 มอบหมายงานให้เรียนหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อ digital ซึ่งมีครบทุกบทเรียน ประกอบด้วย เอกสารอ่านประกอบ วิดีโอ Power point ใบงาน และ Web link ที่เกี่ยวข้อง แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะประเมินผลคะแนนให้ทราบทันที
5.3.1 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ
5.3.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วม การเป็นผู้ฟังที่ดี
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ
5.3.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วม การเป็นผู้ฟังที่ดี
มีทักษะพิสัยในการปฏิบัติด้านการเขียนโครงร่างงานวิจัยสร้างสรรค์ วิจัยเพื่อการออกแบบสร้างสรรค์ และสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดลอง แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ โดยประเมินจากผลงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย
ศึกษาข้อมูลเพื่อ กำหนดปัญหา และสร้างกรอบคิดในการวิจัยเพื่อ
การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติเขียนโครงร่างงานวิจัยสร้างสรรค์ และสร้างเครื่องมือ
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ||
---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
1 | MAAAC101 | ระเบียบวิธีวิจัยศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1,2.2, 2.3 3.1,3.2 | การสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียน | 3, 5, 8 9 16 | 10% 20% 20% |
2 | 3.1,3.2 4.1 4.2, 4.3, 4.4 5.1,5.2, 5.3 6.1,6.2,6.3 | การปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายและ การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน การเข้าเรียน การ scan และ upload ส่งงานทันเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
3 | 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 5.1, 5.2, 5.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่ม และการเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
นิรัช สุดสังข์. 2559. ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
รัฐไท พรเจริญ. 2559. การเขียนงานวิจัยทางการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
วุฒิชาติ สุนทรสมัย. 2553. การวิจัยการตลาดและระบบสารสนเทศทางการตลาด. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
อรนุตฎฐ์ สุธาคำ. 2555. ebook เรื่อง วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบ. เชียงใหม่:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
อรุณ จิรวัฒน์กุล. 2558. สถิติในงานวิจัยเลือกใช้อย่างไรให้เหมาะสม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์วิทยพิพัฒน์.
Blessing, Lucienne T.M.Lucienne T.M. Blessing (Author)
› Visit Amazon's Lucienne T.M. Blessing Page
Find all the books, read about the author, and more.
See search results for this author
Are you an author? Learn about Author Central
; Chakrabarti, Amaresh. 2009. DRM, a Design Research
Methodology. New York: Springer.
Crouch, Christopher; Pearce, Jane. 2012. Doing Research in Design. London: Berg
Publishers.
Visocky, O’Grady, Jennifer. 2006. A Designer’s Research Manual: Succeed in Design by
Knowing Your Client and What They Really Need. China: Rockport.
รัฐไท พรเจริญ. 2559. การเขียนงานวิจัยทางการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
วุฒิชาติ สุนทรสมัย. 2553. การวิจัยการตลาดและระบบสารสนเทศทางการตลาด. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
อรนุตฎฐ์ สุธาคำ. 2555. ebook เรื่อง วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบ. เชียงใหม่:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
อรุณ จิรวัฒน์กุล. 2558. สถิติในงานวิจัยเลือกใช้อย่างไรให้เหมาะสม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์วิทยพิพัฒน์.
Blessing, Lucienne T.M.Lucienne T.M. Blessing (Author)
› Visit Amazon's Lucienne T.M. Blessing Page
Find all the books, read about the author, and more.
See search results for this author
Are you an author? Learn about Author Central
; Chakrabarti, Amaresh. 2009. DRM, a Design Research
Methodology. New York: Springer.
Crouch, Christopher; Pearce, Jane. 2012. Doing Research in Design. London: Berg
Publishers.
Visocky, O’Grady, Jennifer. 2006. A Designer’s Research Manual: Succeed in Design by
Knowing Your Client and What They Really Need. China: Rockport.
เอกสารอ่านประกอบ ในรูปแบบ ebook
ใบงาน
สื่อ ppt
ใบงาน
สื่อ ppt
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เรื่องสิทธิบัตร http://www.ipthailand.org/dip/index.php http://www.toryod.com/
http://www.innovationsme.com/
เรื่องฐานข้อมูลบทความงานวิจัย http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
http://uc.thailis.or.th/main/index.aspx
http://elibrary.rmutl.ac.th/
เรื่องการเขียนบทความวิจัย
https://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/search.html ศุนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
เรื่องสิทธิบัตร http://www.ipthailand.org/dip/index.php http://www.toryod.com/
http://www.innovationsme.com/
เรื่องฐานข้อมูลบทความงานวิจัย http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
http://uc.thailis.or.th/main/index.aspx
http://elibrary.rmutl.ac.th/
เรื่องการเขียนบทความวิจัย
https://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/search.html ศุนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเมล์และเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสังเกตผู้เรียนขณะทำกิจกรรม
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา การส่งงาน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา การส่งงาน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสัมภาษณ์นักศึกษา หรือการตอบแบบสอบถามของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
ปรับปรุงแผนการสอน และเนื้อหาให้ทันสมัย
5.2 ปรับปรุงรูปแบบการสอน ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21
5.2 ปรับปรุงรูปแบบการสอน ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21