การออกแบบเครื่องประดับ

Jewelry Design

 1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดบัดว้ยมือ    
 1.2  เขา้ใจกระบวนการออกแบบและหลกัการออกแบบ
 1.3  สามารถวเิคราะห์การผลิต    
 1.4  สามารถนา เสนอผลงานการออกแบบเครื่องประดบั 
พื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการน าความรู้ ความเขา้ใจในการออกแบบ และเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับงาน เครื่องประดับ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบเชิง อุตสาหกรรมและการออกแบบในทางศิลปะที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความหมาย หลักการออกแบบ  กระบวนการออก แบบ เครื่องประดบั การวาดภาพเครื่องประดบั และอัญมณีดว้ ยมือ การวเิคราะห์การผลิต  ค าสั่งการผลิตและการนา เสนอผลงานออกแบบเครื่องประดบั 
    อาจารยป์ระจา รายวชิา  ประกาศเวลาใหค้า ปรึกษา   อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ทตี่้องพัฒนา
1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวชิาการหรือวชิาชีพการออกแบบเครื่องประดบั
1.2 วธิีการสอน  
   1.2.1 บรรยาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องประดบั
    1.2.2 บรรยาย ฉายภาพนิ่ง สื่อการเรียนการสอน ยกตัวอย่างประกอบค าบรรยาย
    1.2.3 จัดกิจกรรม จิตสาธารณะปลูกฝังจรรยาบรรณวชิาชีพ ฟังธรรมะคา คมหา้ นาที 
1.2 วธิีการสอน  
   1.2.1 บรรยาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องประดบั
    1.2.2 บรรยาย ฉายภาพนิ่ง สื่อการเรียนการสอน ยกตัวอย่างประกอบค าบรรยาย
    1.2.3 จัดกิจกรรม จิตสาธารณะปลูกฝังจรรยาบรรณวชิาชีพ ฟังธรรมะคา คมหา้ นาที
.3.1    สังเกต ขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะ
1.3.2    ประเมินผลจากการสอบทฤษฎี และสอบปฎิบตัิ
1.3.3    ตรวจสอบผลการจัดกิจกรรม
1.3.4   สังเกตพฤติกรรมของนกัศึกษาในการปฏิบตัิตามกฏระเบียบ 
2.1 ความรู้ ทตี่้องได้รับ              
2.1.1  มีความรู้ความเขา้ใจทั้งทางด้านทฤษฎีและปฎิบัติของหลักการออกแบบ เครื่องประดบั                
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ เครื่องประดบั 2
   2.2.1   บรรยาย ใช้สื่อการสอนเน้นหลกัการออกแบบ ฝึกปฎิบตัิการออกแบบ เครื่องประดบัเพื่อให้เกิดองค์ความรู้      
   2.2.2    รวบรวมผลงานการปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงาน    
   2.2.3   มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หลักการออกแบบเครื่องประดบัเป็นหวัขอ้ 
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดว้ยขอ้สอบที่เนน้การวดัหลกัการและ ทฤษฏีและปฎิบตัิ
2.3.2   ประเมินจากการนา เสนอผลการคน้ควา้ขอ้มูล  และการปฏิบตัิจริง 
3.1 ทกัษะทางปัญญา ทตี่้องพฒันา            
   3.1.1   มีทกัษะการปฎิบตัิจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ            
   3.1.2   มีทักษะการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
3.2 วธิีการสอน    
3.2.1   มอบหลายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์  
 3.2.2   ใหน้กัศึกษาลงมือปฏิบตัิจริง    
 3.2.3   การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน  
 3.2.4   การสะทอ้นแนวคิดจากการปฏิบตัิ 3
 
3.3 วธิีการประเมินผล
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการน าเสนอผลงาน
3.3.2   ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง 
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทตี่้องพฒันา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   มีภาวะการเป็นผนู้า และผตู้ามในการทา งานเป็นทีมมีความรับผดิชอบ 
4.2 วธิีการสอน
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดบั
4.2.2  มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การน าเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดบั 4
4.3 วธิีการประเมินผล
4.3.1   ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2  พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา   
 
5. ทกัษะการวเิคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยสีารสนเทศ
5.1 ทกัษะการวเิคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยสีารสนเทศ ทตี่้องพฒันา
5.1.1   สามารถสืบค้น ศึกษาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาการ ออกแบบเครื่องประดบัอย่างเหมาะสม 
5.2 วธิีการสอน
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาคน้ควา้ด้วยตนเอง การหาขอ้มูลจากแหล่งที่มา ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ      และน าเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
5.3 วธิีการประเมินผล 5.3.1   ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดบั     
ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการน าเสนอผลงาน 
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดบั
 วธิีการประเมินผล    ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดบั     
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 6. ทักษะพิสัย 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ107 การออกแบบเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 ด้านทักษะ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 คุณธรรมจริยะธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.
วัฒนะ จูฑะวิภาค.  หลักการออกแบบเครื่องประดับ.  กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งประเทศไทย,2002.
วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546.
สถาบันวิจัยและพัฒนาการออกแบบเครื่องประดับแห่งชาติ.  หลักการออกแบบเครื่องประดับ.  กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งประเทศไทย,2556
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่
มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ