กระบวนการผลิตเสื้อผ้า

Garment Manufacturing Process

เข้าใจหลักการควบคุณคุณภาพ
เข้าใจในกระบวนการผลิตเสื้อผ้า
เข้าใจเทคนิคที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ
มีทักษะในกระบวนการผลิตเสื้อผ้า
มีทักษะในเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบอุตสาหกรรม
เพื่อแกไข้ปัญหาการเรียนการสอน ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ความสามารถในการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชาศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการควบคุณคุณภาพ กระบวนการผลิตเสื้อผ้า เทคนิคที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ กระบวนการผลิตเสื้อผ้าและเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบอุตสาหกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการควบคุณคุณภาพ กระบวนการผลิตเสื้อผ้า เทคนิคที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ กระบวนการผลิตเสื้อผ้าและเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบอุตสาหกรรม
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ รับผิดชอบต่อสังคม
1.2 แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
1.3 มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
1.4 มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยันหมั่นเพียร
1.5 เห็นคุณค่าของกระบวนการผลิตเสื้อผ้า
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา และจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีทักษะในการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน
3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานหน้าชั้น
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมและผลงานของนักศึกษา
4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานหน้าชั้นเรียนโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
5.1ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยาย แนะนำ วิธีการสืบค้นข้อมูลใน Internet
สอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43042216 กระบวนการผลิตเสื้อผ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 9 17 1-8 10-16 1-7 9-15 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานที่มอบหมาย จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งการ การเข้าชั้นเรียน 8 7 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 50% 10%
1.1 เกษม พิพัฒน์ปัญญากูล.(2541). การควบคุมคุณภาพงานเตรียมสิ่งทอเพื่อการย้อม พิมพ์.
กรุงเทพฯ : บริษัทประชาชนจำกัด 35.
1.2 จิตรพี ชวาลาวัณย์.(2556). เสื้อผ้าอุตสาหกรรมและการควบคุมคุณภาพ.กรุงเทพฯ :
โอเดียนสโตร์
1.3 จิตรพี ชวาลาวัณย์.(2539). เสื้อผ้าอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทต้นอ้อแกรมมี่ จำกัด
1.4 ศรีการจนา พลอาสา.(2540). การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเชิงอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ :
บริษัทต้นไทรการพิมพ์ จำกัด
ไม่มี
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตเสื้อผ้าอุตสาหกรรม
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 การแสดงความคิดเห็น
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 ผลงานของนักศึกษา
2.2 การมีส่วนร่วมของนกศึกษา
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและหลังการออกผลการเรียนรายวิชาการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบงานที่ได้รับมอบหมายจากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
4.2 ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจผลสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม
ข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติที่หลากหลาย